Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19222
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Piyasan Praserthdam | - |
dc.contributor.advisor | Duangkamol Na Ranong | - |
dc.contributor.author | Piyawat Supphasrirongjaroen | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering | - |
dc.date.accessioned | 2012-04-25T09:01:09Z | - |
dc.date.available | 2012-04-25T09:01:09Z | - |
dc.date.issued | 2007 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19222 | - |
dc.description | Thesis (D.Eng)--Chulalongkorn University, 2007 | en |
dc.description.abstract | In this work, pure anatase nano-TiO[subscript 2] with various crystallite sizes and metal-doped TiO[subscript 2] were synthesized by solvothermal method. The catalysts were subjected to a rapid quenching in various media such as H[subscript 2] O, 30%wt H[subscript 2]O[subscript 2], air, and liquid N[subscript 2]as a post-synthesis treatment. In order to identify the characteristics, all catalysts were characterized using N[subscript 2] physisorption, XRD, SEM, CO[subscript 2] -TPD, ESR, and XPS. The photocatalytic activities of TiO[subscript 2] catalysts were evaluated for the degradation of ethylene under UV illumination. It was found that photocatalytic activity of the nanosized TiO[subscript 2] quenched in different media is evidently different. It is likely that quenching process can modify surface properties of the TiO[subscript 2] samples i.e., enhancing the amount of surface defects (Ti[superscript 3+]) so that higher photocatalytic activity was obtained. The effect of quenching was more pronounced on the smaller crystallite size TiO[subscript 2] than on the larger ones. In addition, the selection of a suitable second metal doping can enhance photocatalytic activity of the TiO[subscript 2] . Moreover, the quenching processes tended to have positive effect on activity for CO hydrogenation reaction. | en |
dc.description.abstractalternative | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ศึกษาถึงการใช้งานผลึกขนาดนาโนเมตรของไทเทเนียมไดออกไซด์ที่ดัดแปลงโดยกระบวนการเย็นตัวอย่างรวดเร็ว สำหรับตัวเร่งปฏิกิริยา และตัวรองรับของตัวเร่งปฏิกิริยา โดยสังเคราะห์ผลึกขนาดต่างๆ ของไทเทเนียมไดออกไซด์และสังเคราะห์ผลึกไทเทเนียมไดออกไซด์ที่เติมโลหะชนิดที่สองด้วยวิธีโซลโวเทอร์มอล และนำเข้าสู่กระบวนการเย็นตัวอย่างรวดเร็วในตัวกลางชนิดต่างๆ ในการพิสูจน์เอกลักษณ์ของตัวเร่งปฏิกิริยาทำการศึกษา โดยใช้การดูดซับทางกายภาพด้วยไนโตรเจน การกระเจิงรังสีเอ็กซ์ การส่องผ่านด้วยกล้องจุลทรรศ์อิเล็กตรอน การหลุดออกของคาร์บอนไดออกไซด์แบบโปรแกรมอุณหภูมิ อิเล็คตรอนสปินเรโซแนนซ์ และเอ็กซ์เรย์โฟโต้อิเล็คตรอนสเปคโตรสโคปี ความว่องไวในการเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงของตัวเร่งปฏิกิริยาไทเทเนียมไดออกไซด์ ได้ทดสอบในปฏิกิริยาการสลายตัวของเอทิลีนภายใต้การภาวะฉายแสงอัลตราไวโอเลต ผลการศึกษา พบว่า การเย็นตัวอย่างรวดเร็วในตัวกลางต่างชนิดกัน ทำให้ผลึกไทเทเนียมไดออกไซด์มีความบกพร่องบนพื้นผิวแตกต่างกัน ผลึกที่มีความบกพร่องบนพื้นผิวมาก จะมีความว่องไวในการทำปฎิกริยาสูง ผลึกไทเทเนียมไดออกไซด์ที่มีขนาดเล็กจะได้ผลจากการกระบวนการเย็นตัวอย่างรวดเร็วมากกว่าผลึกที่มีขนาดใหญ่ นอกจากนั้น พบว่าการเลือกเติมโลหะชนิดที่สองที่เหมาะสม จะช่วยเพิ่มความสามารถในการเร่งปฎิกิริยาของผลึกไทเทเนียมไดออกไซด์ สำหรับการใช้งานผลึกขนาดนาโนเมตรของไทเทเนียมไดออกไซด์สำหรับตัวรองรับตัวเร่งปฎิกิริยา พบว่าผลของกระบวนการเย็นตัวอย่างรวดเร็ว มีแนวโน้มส่งผลดีในการช่วยให้ตัวเร่งปฏิกิริยามีความว่องไวมากขึ้น สำหรับปฎิกิริยาไฮโดรจิเนชันของคาร์บอนไดออกไซด์ | en |
dc.format.extent | 2850453 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | en | es |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1487 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | en |
dc.subject | Titanium dioxide | en |
dc.subject | Nanocrystals | en |
dc.subject | Catalysts | en |
dc.title | Applications of titanium dioxide nanocrystal modified by quenching processes for catalyst and catalyst support | en |
dc.title.alternative | การใช้งานผลึกขนาดนาโนเมตรของไทเทเนียมไดออกไซด์ที่ดัดแปลงโดยกระบวนการเย็นตัวอย่างรวดเร็วสำหรับตัวเร่งปฏิกิริยาและตัวรองรับของตัวเร่งปฏิกิริยา | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | Doctor of Engineering | es |
dc.degree.level | Doctoral Degree | es |
dc.degree.discipline | Chemical Engineering | es |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en |
dc.email.advisor | piyasan.p@chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | knduangk@kmitl.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2007.1487 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Piyawat_su.pdf | 2.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.