Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19406
Title: Comparison of microleakage of two retrofilling techniques
Other Titles: การศึกษาเปรียบเทียบการรั่วซึมของเทคนิคการอุดย้อนปลายราก 2 แบบ
Authors: Tippawan Inthararith
Advisors: Piyanee Panitvisai
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry
Advisor's Email: Piyanee.P@Chula.ac.th
Subjects: Root Canal Filling Materials
Dental Leakage
Composite Resins
Retrograde Obturation -- Methods
Mineral Trioxide Aggregate
Issue Date: 2009
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The purpose of this study is to compare the dye leakage of root-end preparation technique using MTA and root-end preparation technique using flowable resin composite with and without human blood contamination. Sixty-eight human upper anteriors were collected and randomly divided into four experimental (n=15) and two control groups (n=4). Two experimental groups of class I root-end preparation were retroprepared with an ultrasonic tip (KiS-1D) to the depth of 3 mm and filled with MTA with and without blood contamination. Another two groups of concave cavity root-end preparation were filled with flowable resin composite with and without blood contamination. The leakage of dye was evaluated by dye vacuum penetrating test and dye extraction method. Two-way ANOVA was used to test for significant differences of the leakage among the groups of specimens at the significant level of 0.05. The concave cavity root-end preparation filled with flowable resin composite without blood contamination displayed significantly less leakage (p<0.05) than all other groups. Leakage of retrofillings using MTA and flowable resin composite was affected by both the root-end preparation techniques and the blood contamination. The concave cavity root-end preparation filled with flowable resin composite without blood contamination displayed the least leakage.
Other Abstract: วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือเพื่อศึกษาเปรียบเทียบการรั่วซึมของเทคนิคการอุดย้อนปลายรากชนิดใช้วัสดุเอ็มทีเอกับชนิดใช้วัสดุเรซินคอมโพสิตชนิดไหลแผ่เป็นวัสดุอุดย้อนปลายรากฟัน ทั้งกรณีที่มีและไม่มีการปนเปื้อนด้วยเลือด โดยใช้ฟันหน้าบนของมนุษย์ 68 ซี่ แบ่งรากฟันออกเป็น 4 กลุ่มการทดลอง (กลุ่มละ 15 ราก) และ 2 กลุ่มควบคุม (กลุ่มละ 4 ราก) สองกลุ่มการทดลองแรกเตรียมปลายรากฟันด้วยหัวอัลตราโซนิกส์ลึก 3 มิลลิเมตร แล้วอุดย้อนปลายรากด้วยวัสดุเอ็มทีเอ ทั้งแบบที่มีและไม่มีการปนเปื้อนด้วยเลือด อีกสองกลุ่มการทดลองเตรียมปลายรากฟันด้วยหัวกรอรูปกลมกรอปลายรากฟันให้มีรูปร่างเว้าเล็กน้อย อุดย้อนปลายรากฟันด้วยวัสดุเรซินคอมโพสิตชนิดไหลแผ่ ทั้งแบบที่มีและไม่มีการปนเปื้อนด้วยเลือด ประเมินการรั่วซึมโดยใช้สีเมทธีลีนบลูในระบบสุญญากาศและวิธีดายเอ็กซแทร็กชั่น วิเคราะห์ผลโดยใช้สถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทางที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มการทดลองที่ใช้เทคนิคเตรียมปลายรากฟันให้มีรูปร่างเว้าเล็กน้อย แล้วอุดย้อนปลายรากฟันด้วยวัสดุเรซินคอมโพสิตชนิดไหลแผ่ แบบที่ไม่มีการปนเปื้อนด้วยเลือด มีการรั่วซึมของสีน้อยกว่ากลุ่มทดลองอื่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 การรั่วซึมของการอุดย้อนปลายรากฟันด้วยวัสดุเอ็มทีเอและวัสดุเรซินคอมโพสิตชนิดไหลแผ่ ขึ้นกับเทคนิคการอุดย้อนปลายรากและปัจจัยของการปนเปื้อนด้วยเลือด โดยเทคนิคเตรียมปลายรากฟันให้มีรูปร่างเว้าเล็กน้อย แล้วอุดย้อนปลายรากฟันด้วยวัสดุเรซินคอมโพสิตชนิดไหลแผ่ แบบที่ไม่มีการปนเปื้อนด้วยเลือด มีการรั่วซึมน้อยที่สุด
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2009
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Endodontology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19406
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.2
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2009.2
Type: Thesis
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tippawan_in.pdf2.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.