Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19439
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุชาดา รัชชุกูล-
dc.contributor.authorวาศินี อ่อนท้วม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-05-04T14:17:21Z-
dc.date.available2012-05-04T14:17:21Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19439-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วย หน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินก่อนและหลังการใช้แบบบันทึกการพยาบาล กลุ่มตัวอย่างเป็นเวช ระเบียนผู้ป่วยอุบัติเหตุ จำนวน 60 แฟ้มคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัยประกอบด้วยแผนการอบรม แบบบันทึกการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน คู่มือการใช้ แบบบันทึกการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน แบบกำกับการทดลอง เครื่องมือในการเก็บ รวบรวมข้อมูล ได้แก่แบบประเมินผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยและคู่มือพจนานุกรมการปฏิบัติการ พยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาของเครื่องมือโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และตรวจหาค่าความเที่ยงของแบบประเมินผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยด้วยการหาค่าความสอดคล้องของ การตรวจสอบแบบประเมินผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยได้เท่ากับ .83 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อย ละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยหน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินหลังการใช้แบบบันทึกการพยาบาล ( X =37.20) สูงกว่าก่อนการใช้แบบบันทึกการพยาบาล ( X =18.37) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ.05en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this quasi experimental research was to compare outcomes of patient care emergency department at Lerdsin Hospital before and after using nursing document. The subject were 60 patient charts. Case selected by purposive sampling. The research instruments were the training plan, emergency nursing document, the handbook for using the emergency nursing document, the assessment of patient care outcome forms and the handbook for using the emergency nursing activity. All research instruments were developed by the researcher and tested for content validity. Reliability of the assessment outcomes of patient care forms was .83. The data were analyzed by percentile, mean, standard deviation and t-test. The major finding were as follow : Outcomes of patient care at emergency department after using nursing document ( X =37.20) was significant higher than before using nursing document ( X =18.37) at the .05 level.en
dc.format.extent2264756 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1751-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโรงพยาบาล -- บริการพยาบาลฉุกเฉินen
dc.subjectบันทึกการพยาบาลen
dc.subjectการดูแลผู้ป่วยen
dc.subjectการพยาบาลen
dc.subjectHospitals -- Emergency medical services-
dc.subjectEmergency medical services-
dc.subjectNursing records-
dc.subjectCare of the sick-
dc.subjectNursing-
dc.titleผลของการใช้แบบบันทึกการพยาบาลต่อผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยหน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลเลิดสินen
dc.title.alternativeEffect of using nursing document on outcomes of patient care emergency department, Lerdsin Hospitalen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSuchada.Ra@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1751-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wasinee_on.pdf2.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.