Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19476
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิษณุ คนองชัยยศ | - |
dc.contributor.author | อรรถวุฒิ หลายชูไทย | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-05-07T09:51:05Z | - |
dc.date.available | 2012-05-07T09:51:05Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19476 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 | en |
dc.description.abstract | การสังเคราะห์ท่าทางการเคลื่อนไหวใหม่ขึ้นมาโดยใช้ฐานข้อมูลการเคลื่อนไหวเดิมที่มีอยู่แล้วนั้นโดยที่จะไม่ต้องไปจับภาพการเคลื่อนไหวใหม่อีกครั้งหนึ่ง วิธีการนำเอาข้อมูลที่เรามีอยู่แล้วมาใช้ใหม่อีกครั้งนั้นประกอบไปด้วยหลายวิธี อาทิเช่น วิธีปรับแต่งข้อมูลของการเคลื่อนไหว วิธีการนำเอาข้อมูลการการเคลื่อนไหวมาประยุกต์ใช้กับตัวละครประเภทต่างๆ วิธีการสังเคราะห์ท่าทางการเคลื่อนไหวใหม่จากฐานข้อมูลเดิม ซึ่งการนำเอาข้อมูลเดิมมาใช้ใหม่นั้นมีข้อดีอยู่หลายข้อ โดยด้านที่สนใจจะเป็นการนำเอาวิธีการสังเคราะห์ท่าทางการเคลื่อนไหวใหม่จากฐานข้อมูลเดิม มาใช้เพื่อสร้างท่าทางการเคลื่อนไหวของตัวละครและนำไปผสมผสานระหว่างการวิเคราะห์เสียงเพลงแล้วนำทั้งสองอย่างมาเชื่อมเข้าด้วยกันเพื่อสร้างเป็นรูปแบบการเคลื่อนไหวที่ประกอบกับเสียงดนตรีขึ้นมา โดยอาจจะมีการเพิ่มคุณลักษณะพิเศษอย่างอื่นเข้าไปเช่น สามารถกำหนดท่าทางการเคลื่อนไหวในเพลงเองได้ งานวิจัยฉบับนี้จึงจะนำเสนอวิธีการที่จะสร้างรูปแบบการเคลื่อนไหวชุดใหม่ขึ้นมาจากฐานข้อมูลของการเคลื่อนไหวเดิมโดยจะใช้วิธี การสังเคราะห์การเคลื่อนไหว และเมื่อมีการใส่ดนตรีเข้ามาระบบก็จะทำการปรับแต่งทั้งสองส่วนให้สอดคล้องกัน โดยข้อดีของงานวิจัยชิ้นนี้คือระบบจะทำหน้าที่ในการทำให้ทั้งสองส่วนสอดคล้องกันโดยอัตโนมัติ และจากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าวิธีการที่นำเสนอสามารถปรับแต่งการเคลื่อนไหวให้มีการแสดงออกที่สอดคล้องกับเสียงดนตรี | en |
dc.description.abstractalternative | To synthesis new motion from an existing motion data have three ways, First is motion editing, Second is Motion retargeting and Motion synthesis is the third. We are focusing in motion synthesis and use this method to synthesized new motion to synchronize with an input music. Synchronization between motion and music is an interesting area in computer graphics however this part of work is difficult for generating automatically therefore it is usually done by an animators. We present a scheme for synchronizing music with synthesized motion by mapping both feature together. Feature points of music file and motion data are extracted. Then, we pair and synchronize. We also use motion graph, which is a well-known method for novice user, to generate long motions and fully automatic process of motion synthesis. We synthesize a new motion which matches to the music the most. | en |
dc.format.extent | 3069871 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.139 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์ | en |
dc.subject | การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์ -- เพลงและดนตรี | en |
dc.subject | คอมพิวเตอร์กราฟิก | en |
dc.subject | การเคลื่อนไหว -- การสังเคราะห์ | - |
dc.subject | Computer animation | - |
dc.subject | Computer animation -- Songs and music | - |
dc.subject | Computer graphics | - |
dc.subject | Movement -- Synthesis | - |
dc.title | การทำให้ท่าทางการเคลื่อนไหวและเสียงเพลงสอดคล้องกันโดยใช้โมชันกราฟ | en |
dc.title.alternative | Synchronization between motion and music using motion graph | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2010.139 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
auttawut_la.pdf | 3 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.