Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19493
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยโรจน์ คุณพนิชกิจ-
dc.contributor.authorปรัชญา นวลพลับ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-05-08T04:44:51Z-
dc.date.available2012-05-08T04:44:51Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19493-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.) --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2550en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างสัญญาณการสั่นสะเทือนกับระดับการสึกหรอของฟันเฟือง โดยทำการทดลองให้เฟืองขับทองเหลืองเกิดการสึกหรอในหลาย ๆ สภาวะด้วยการปรับความ เร็วรอบของชุดทดลองและภาระ เก็บสัญญาณด้วยวิธีการเฉลี่ยกันบนโดเมนความถี่ การเฉลี่ยกันบนโดเมนเวลาเข้าจังหวะ และติดตามรูปแบบของการสึกหรอด้วยภาพจากกล้องดิจิทัล สัญญาณการสั่นสะ เทือนที่ใช้ในการวิเคราะห์อยู่ในรูปแบบของสัญญาณบนโดเมนเวลา โดเมนความถี่ และโดเมนคิวเฟรนซี ผลการวิจัยพบว่าการติดตามรูปแบบการสึกหรอของฟันเฟืองสามารถกระทำได้สะดวกมากขึ้นโดยมีความแม่นยำในระดับ 0.1 มิลลิเมตร สัญญาณบนโดเมนเวลา พารามิเตอร์ Peak และ RMS มีแนวโน้มสูงขึ้นตามขนาดของการสึกหรออย่างเห็นได้ชัดในทุก ๆ สภาวะการทดลอง โดยจะมีค่าแอมพลิจูดของสัญญาณเพิ่มขึ้นตามความเร็วรอบ การเก็บสัญญาณด้วยวิธีการเฉลี่ยกันบนโดเมนเวลาเข้าจังหวะช่วยให้สามารถสังเกตเห็นลักษณะคาบการขบกันของฟันเฟืองได้ชัดเจนขึ้น เมื่อพิจารณาผลของสัญญาณสเปกตรัมพบว่าส่วนใหญ่แล้วมีแนวโน้มของสัญญาณไม่ชัดเจนนัก ค่าของแอมพลิจูดมีความแปรปรวนแกว่งตัวขึ้น ๆ ลง ๆ ไม่สัมพันธ์กับระดับการสึกหรอ ทั้งส่วนของค่าแอมพลิจูด GMF ฮาร์มอนิก และชุดความถี่ข้าง ผลของสัญญาณเซปส์ตรัมพบว่าแนวโน้มสัญญาณส่วนใหญ่ มีความแปรปรวนของสัญญาณอยู่มาก ยังไม่อาจนำมาระบุถึงความสึกหรอที่เกิดขึ้นบนฟันเฟืองได้en
dc.description.abstractalternativeThis research investigated the relation of vibration signal and gear tooth wear level. Brass pinions were tested at various speeds and applied loads on an experimental test rig. Vibration signal was recorded by using spectrum averaging and synchronous time averaging techniques. Images from digital camera were used to monitor gear wear. Vibration signal was analyzed using time domain, frequency domain and quenfrency domain techniques. The study shows that wear monitoring of gear teeth can be easily performed with resolution up to 0.1 mm. Peak and RMS parameters from the time domain signal clearly increase as the wear level progress in all conditions. Signal amplitude increases as the gear speed increases. The tooth meshing period can be clearly seen from the synchronous time averaging signal. The trend of spectrum signal is not clearly correlate to the level of gear wear because of the variation of the amplitude of GMF, its harmonics, and peak amplitude of the sideband. Cepstral analysis trends to give more fluctuation of peak gamnitude and it may not correlate well with the gear wear.en
dc.format.extent2055425 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.861-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเฟือง -- การสั่นสะเทือนen
dc.titleการศึกษาพฤติกรรมของสัญญาณการสั่นสะเทือนกับรูปแบบการสึกหรอของเฟืองตรงen
dc.title.alternativeStudy of vibration signal behavior with spur gear wear patternen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเครื่องกลes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorfmeckp@eng.chula.ac.th, Chairote.K@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.861-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Prutya.pdf2.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.