Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19506
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชวลิต รัตนธรรมสกุล-
dc.contributor.authorโกสินทร์ สุนทรโสภา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-05-08T08:07:08Z-
dc.date.available2012-05-08T08:07:08Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19506-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. )--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractศึกษาผลของ pulp powder ต่อการสร้างเม็ดตะกอนจุลินทรีย์ในระบบยูเอเอสบี ในการบำบัดน้ำเสียจากการกลั่นเอทานอล โดยใช้แบบจำลองระบบยูเอเอสบีลักษณะเหมือนกันจำนวน 4 ถังปฏิกรณ์ โดยเติม pulp powder ปริมาณ 800, 600 และ 400 มิลลิกรัมต่อกรัมของแข็งแขวนลอย ลงในถังปฏิกรณ์ที่ 1, 2 และ 3 ตามลำดับ ร่วมกับการเติม polymer ประจุบวก ปริมาณ 2 มิลลิกรัมต่อกรัมของแข็งแขวนลอย ในทุกถังปฏิกรณ์ สำหรับถังปฏิกรณ์ที่ 4 แต่ไม่มีการเติม pulp powder แต่เติม polymer ปริมาณ 2 มิลลิกรัมต่อกรัมของแข็งแขวนลอย เพียงอย่างเดียว เดินระบบในช่วงอัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์ 2-6 กก.ซีโอดี/ลบ.ม.-วัน ผลการทดลองที่ได้แสดงให้เห็นว่า การเติม pulp powder ที่ความเข้มข้น 400 มิลลิกรัมต่อกรัมของแข็งแขวนลอย ร่วมกับการเติม polymer ในถังปฏิกรณ์ที่ 3 สามารถสร้างเม็ดตะกอน จุลินทรีย์ขนาดที่มองเห็นได้ใน 22 วัน เมื่อเพิ่มอัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์จาก 2 กก.ซีโอดี/ลบ.ม.-วัน หลังจาก 68 วัน ไปเป็น 4 กก.ซีโอดี/ลบ.ม.-วัน จะเพิ่มปริมาณเม็ดตะกอน จุลินทรีย์ขนาดใหญ่กว่า 1,000 ไมโครเมตร จาก 17.51% ไปเป็น 40.14% หรือเพิ่มขึ้นถึง 2.29 เท่า เมื่อ 131 วัน จากผลการทดลองสรุปได้ว่า การเติม pulp powder ในปริมาณที่เหมาะสมร่วมกับ polymer สามารถส่งเสริมกระบวนการสร้างเม็ดตะกอนจุลินทรีย์ได้ และลดระยะเวลาในการเดินระบบให้สั้นลงกว่าวิธีการโดยทั่วไป โดยปริมาณ pulp powder ที่แนะนำให้ใช้ คือ 400 มิลลิกรัมต่อกรัมของแข็งแขวนลอย ร่วมกับการเติม polymer ปริมาณ 2 มิลลิกรัมต่อกรัมของแข็งแขวนลอยen
dc.description.abstractalternativeTo study the effect of pulp powder on sludge granulation in Upflow Anaerobic Sludge Blanket (UASB) reactor, treating ethanol stillage. Here, four identical lab-scale UASB reactors were used in this study. The dosage of pulp powder at 800, 600 and 400 mg/g SS were added into reactor No. 1, 2 and 3 ,respectively. Additionally, only 2 mg/g SS of cationic polymer was also added into each reactor. For reactor No. 4 without pulp powder addition, only 2 mg/g SS of polymer was added. Operating condition was employed with organic loading rate in the range of 2-6 kg/COD/cb.m.-day. The results showed that the addition of pulp powder of 400 mg/g SS with polymer in the reactor No.3 could build sludge granule to the visible size within 22 days. Increasing organic loading rate from 2 kg/COD/cb.m.-day after the 68 days to 4 kg/COD/cb.m.-day resulted in increasing sludge granule size ≥ 1,000 µm from 17.51% to 40.14% of total sludge granule at 131 days. The large size sludge granules were increased 2.29 times. Therefore, it could be summarized that pulp powder and polymer at optimal dosages can enhance sludge granulation effectively and reduce start-up period to be shorten than conventional method. The recommended optimal dosage of pulp powder is 400 mg/g SS together with polymer dosage at 2 mg/g SSen
dc.format.extent10804256 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1352-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเอทานอลen
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- วิธีแบบไร้ออกซิเจนen
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- วิธีทางชีวภาพen
dc.subjectกากตะกอนน้ำเสียen
dc.titleการใช้ pulp powder สำหรับสร้างเม็ดตะกอนจุลินทรีย์ในระบบยูเอเอสบีen
dc.title.alternativeUsing pulp powder for granulation of sludge in UASB reactoren
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.1352-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kosin_su.pdf10.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.