Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19539
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไชยวัฒน์ ค้ำชู-
dc.contributor.authorชญาณิศา นันทสกุลการ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.coverage.spatialจีน-
dc.date.accessioned2012-05-09T10:58:47Z-
dc.date.available2012-05-09T10:58:47Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19539-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์(ร.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractงานวิจัยฉบับนี้เป็นการศึกษาความเปลี่ยนแปลงด้านนโยบายของจีนที่มีต่อการเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของสนธิสัญญาการไม่แพร่กระจายอาวุธนิวเคลียร์ ตั้งแต่ช่วงปี ค.ศ. 1949 – 1992 การศึกษาวิจัยได้นำกรอบความคิดเรื่องการสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ (International Cooperation) มาเป็นแนวในการวิเคราะห์และอธิบายความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โดยวิทยานิพนธ์นี้ตั้งอยู่บนสมมติฐานที่ว่า เหตุสำคัญที่ทำให้จีนตัดสินใจเข้าร่วมเป็นภาคีของสนธิสัญญาการไม่แพร่กระจายอาวุธนิวเคลียร์ในปี ค.ศ. 1992 นั้นเป็นเพราะจีนต้องการฟื้นฟูภาพลักษณ์ที่ดี โดยแสดงความรับผิดชอบในฐานะประเทศมหาอำนาจที่ให้ความร่วมมือกับระบอบการไม่แพร่กระจายอาวุธนิวเคลียร์ระหว่างประเทศ จากการศึกษาพบว่า จีนตัดสินใจเข้าร่วมเป็นสมาชิกของสนธิสัญญาการไม่แพร่กระจายอาวุธนิวเคลียร์มีเหตุสำคัญหลักเนื่องจากการตระหนักถึงปัญหาด้านภาพลักษณ์ที่จีนต้องเร่งฟื้นฟู ในฐานะประเทศมหาอำนาจที่ต้องมีความรับผิดชอบและให้ความร่วมมือกับระบอบระหว่างประเทศ เนื่องจากปัญหาที่สั่งสมมาหลายประการในช่วงปลายทศวรรษ 1980 ที่มีลักษณะละเมิดต่อระบอบการไม่แพร่กระจายอาวุธนิวเคลียร์ทั้งอย่างเปิดเผยและไม่เปิดเผย ได้แก่ การสร้างความร่วมมือด้านนิวเคลียร์กับอิหร่าน ปากีสถาน และแอลจีเรีย วาทกรรม “ภัยคุกคามจากจีน” การเข้าร่วมเป็นสมาชิกสนธิสัญญาการไม่แพร่กระจายอาวุธนิวเคลียร์ของฝรั่งเศส และโครงการพัฒนานิวเคลียร์สมัยใหม่en
dc.description.abstractalternativeThe main purpose of this thesis is to study the Chinese non-proliferation policy through its accession to the Nuclear Non-proliferation Treaty (NPT) during the period 1949 – 1992. By using the international cooperation approach as a framework for analysis, the thesis analyzes and describes a decisive factor affecting China’s non-proliferation policy towards its accession to NPT in 1992. The assumption of this study is that China decided to join the Nuclear Non-proliferation Treaty in 1992 because China wanted to restore its image by cooperating with the international non-proliferation regime in accordance with its responsibility as a major power. The study confirmed the hypothesis that China decided to accede the Nuclear Non-proliferation Treaty because it was concerned with its image as a major power. Due to several issues that have affected its image since the late 1980s, including its violation of the non-proliferation regime as evidenced by its nuclear cooperation agreement with Iran, Pakistan and Algeria, the “China Threat” discourse, its own nuclear development and France’s accession to Nuclear Non-proliferation Treaty.en
dc.format.extent1841373 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.376-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอาวุธนิวเคลียร์en
dc.subjectนโยบายต่างประเทศ -- จีนen
dc.subjectจีน -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศen
dc.subjectอาวุธนิวเคลียร์ -- ความร่วมมือระหว่างประเทศen
dc.subjectการไม่แพร่กระจายอาวุธนิวเคลียร์ -- จีน-
dc.subjectการควบคุมอาวุธนิวเคลียร์-
dc.subjectNuclear nonproliferation -- China-
dc.subjectNuclear arms control-
dc.titleจีนกับสนธิสัญญาการไม่แพร่กระจายอาวุธนิวเคลียร์en
dc.title.alternativeChina and Nuclear Non-proliferation Treatyen
dc.typeThesises
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineความสัมพันธ์ระหว่างประเทศes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChaiwat.K@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.376-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chayanisa_na.pdf1.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.