Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19709
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุนทร ณ รังษี | - |
dc.contributor.author | อุดร รัตนภักดิ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-05-19T16:23:14Z | - |
dc.date.available | 2012-05-19T16:23:14Z | - |
dc.date.issued | 2522 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19709 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2522 | en |
dc.description.abstract | จุดมุ่งหมายในการวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาแนวความคิดเรื่องโลกในปรัชญาอินเดียสายอาสติกะว่า มีทรรศนะเกี่ยวกับเรื่องนี้อย่างไรบ้าง มีความสัมพันธ์กับเรื่องอื่นๆ มากน้อยแค่ไหน มีวิธีการพิสูจน์ความมีอยู่ของโลกได้อย่างไร และสามารถพิสูจน์หรือยืนยันได้จริงหรือไม่ ผลของการวิจัยนี้ทำให้ทราบว่า แนวความคิดเรื่องโลกในปรัชญาอินเดียสายอาสติกะนั้นเชื่อว่า โลกเป็นสิ่งที่มีอยู่จริง มีการสร้างขึ้น ดำรงอยู่ และเสื่อมสลายไปแต่แนวความคิดตลอดจนวิธีการศึกษาหาความจริงหรือพิสูจน์ในเรื่องนี้นั้นแตกต่างกันไป ตามทรรศนะของแต่ละระบบ และอีกประการหนึ่งพบว่า แนวความคิดเรื่องโลกในปรัชญาอินเดียสายอาสติกะนั้น นับได้ว่าเป็นแนวความคิดพื้นฐานนำไปสู่แนวความคิดเรื่องอื่นๆ ด้วย ทั้งนี้เพราะปรัชญาสานอาสติกะทุกระบบกล่าวถึงเรื่องนี้ในแง่ของอภิปรัชญา ซึ่งมีความสัมพันธ์กับเรื่องอื่นๆ ด้วย เช่นเรื่องพรหมันหรืออาตมัน เรื่องชีวาตมัน และเรื่องพระเจ้า เป็นต้น ดังนั้น การได้ศึกษาวิจัยแนวความคิดเรื่องโลกในปรัชญาอินเดียสายอาสติกะ ก็ย่อมได้ศึกษาแนวความคิดเรื่องอื่นๆ ที่มีความสัมพันธ์กับเรื่องนี้ไปด้วย จากการวิจัยนี้พอสรุปได้ว่า แนวความเรื่องโลกในปรัชญาอินเดียสายอาสติกะแยกได้เป็น 3 กลุ่มคือ กลุ่มแรกอธิบายแนวความคิดเรื่องโลกในแง่สัจจนิยมเชิงพหุภาพ ( pluralistic realism ) ได้แก่ระบบปรัชญาณยายะ ไวเศษิกะ และมีมาสา กลุ่มที่สองอธิบายแนวความคิดเรื่องโลกในแง่ทวินิยมเชิงสัจจภาพ ( realistiodualian ) ได้แก่ระบบปรัชญาสางขยะ และโยคะ กลุ่มสุดท้ายได้แก่ปรัชญาวทานตะแบ่งออกเป็นสายใหญ่ 2 สาย คือ อไทวตะและวิศิษฏาไทวตะ ปรัชญาอไทวตะเวทานตะอธิบายโลกไปในแง่เอกนิยม เทวนิยม ส่วนวิศิษฏาไทวตะเวทานจะอธิบายไปในแง่สัจจนิยมเชิงสรรพเทวนิยม ถึงแม้ว่าแต่ละระบบจะอธิบายแนวความคิดในเรื่องนี้แตกต่างกันออกไป แต่ก็มีแนวความคิดร่วมกันอยู่คือ ต่างก็เชื่อเรื่องการสร้าง และการทำลายโลกเป็นครั้งคราว ยกเว้นปรัชญามีมามสาและเชื่อว่า โลกภายนอกเป็นสิ่งที่มีอยู่จริงซึ่งสามารถพิสูจน์ได้ แม้ว่าบางระบบจะถือว่าไม่มีอยู่จริงอย่างอันติมาก็ตาม และแนวความคิดเรื่องโลกสรุปได้ว่า เป็นแนวความคิดพื้นฐานนำไปสู่แนวความคิดเรื่องอื่นๆอีกด้วย ทั้งนี้เพราะปรัชญาสายอาสติกะทุกระบบกล่าวถึงเรื่องโลก และความสัมพันธ์ระหว่างโลกกับสิ่งต่างๆ ข้อเสนอแนะในการวิจัยต่อจากนี้คือ อาจศึกษาเรื่องความติดข้องและความหลุดพ้นในปรัชญาสายอาสติกะว่า มีทรรศนะอย่างไร มีปัญหาอย่างไรบ้าง และมีความสัมพันธ์กับแนวความคิดเรื่องโลกและสิ่งต่างๆ มากน้อยแค่ไหน ซึ่งจะทำให้เราเข้าใจปัญหาต่างๆ ในปรัชญาทั้ง 6 ระบบของอินเดียยิ่งขึ้น | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research is to study the concept of the world in orthodox Indian Philosophy and to investigate the relationship between this concept with the others. With regard to the existence of the world, attempts will also be made to find out as to how different systems of orthodox Indian thoughts have proved it. The result of this research has exposed the fact that all orthodox systems of Indian thought consider the world to be objectively real; it is created and destroyed occasionally. Again it has revealed that the concept of the world is a fundamental one which connect to the others, because each system refers to this concept in its metaphysics in its in relation to the other e.g. Brahman or Ataman, jiva, and God, etc. Therefore in studying the problem of the world all other related problems are automatically studied. According to this research, we may conclude that the concept of the world in orthodox Indian philosophy can be divided into three groups. The first group consisting of Nyaya, Vaisesika and Mimamsa explains the world in term of pluralistic realism. The second group, viz Sankhya and Yoga, holds to the view of realistic dualism. The third, i.e. Vedanta, is divided into two eings, namely, the Advaita and the Visistadvaita. While the Advaita Vedanta’s view is theistic monism, the Visistadvaita Vedanta advocates the view of pantheistic realism. Although each system has some different points of view, all of them excepting Mimamsa believe that world is occasionally created and destroyed, that the world is objectively real even though it is not absolutely real to some systems, and the existence of the external world is sensibly provable. The suggestion for further research may be given here in some aspects, e.g. , to study the bondage and liberation in orthodox Indian philosophy in order to investigate the relationship between these concepts and the world. Finally we can understand the six philosophical systems of Indian thoroughly if we clearly understand these. | - |
dc.format.extent | 412429 bytes | - |
dc.format.extent | 289867 bytes | - |
dc.format.extent | 557228 bytes | - |
dc.format.extent | 492269 bytes | - |
dc.format.extent | 1434387 bytes | - |
dc.format.extent | 1750085 bytes | - |
dc.format.extent | 574534 bytes | - |
dc.format.extent | 366685 bytes | - |
dc.format.extent | 261869 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ปรัชญาอินเดีย | en |
dc.title | แนวความคิดเรื่องโลกในปรัชญาอินเดียสายอาสติกะ | en |
dc.title.alternative | The concept of the world in orthodox Indian philosophy | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | ปรัชญา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Udorn_Ra_front.pdf | 402.76 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Udorn_Ra_ch1.pdf | 283.07 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Udorn_Ra_ch2.pdf | 544.17 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Udorn_Ra_ch3.pdf | 480.73 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Udorn_Ra_ch4.pdf | 1.4 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Udorn_Ra_ch5.pdf | 1.71 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Udorn_Ra_ch6.pdf | 561.07 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Udorn_Ra_ch7.pdf | 358.09 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Udorn_Ra_back.pdf | 255.73 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.