Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19816
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กฤษดา กรุดทอง | - |
dc.contributor.author | กำพล เติมประยูร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-05-21T15:42:33Z | - |
dc.date.available | 2012-05-21T15:42:33Z | - |
dc.date.issued | 2528 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19816 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528 | en |
dc.description.abstract | โดยทั่วไปการบริหารงานการศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา เกี่ยวข้องกับบุคคล 2 ฝ่าย คือผู้บริหาร และครูผู้สอน บุคคลทั้งสองต้องช่วยเหลือเกื้อกูลและร่วมกันแก้ไขปัญหา อุปสรรคของการบริหารงานโรงเรียนที่เกิดขึ้น จึงจะทำให้งานที่ทำงานที่ทำอยู่ประสบกับความสำเร็จตามความมุ่งหมายของโรงเรียน ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายร่วมกันของผู้บริหารและครูผู้สอนที่อยู่ในโรงเรียนเดียวกัน การบริหารงานอย่างหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการทำงานร่วมกันระหว่างผู้บริหารกับครูผู้สอนคือ การกำหนดราวิชาและจำนวนคาบสอน ซึ่งนับว่าเป็นปัญหาหนึ่งที่ผู้บริหารกับครูผู้สอนประสบอยู่ในปัจจุบัน กล่าวคือ ครูผู้สอนมักจะไม่พอใจต่อรายวิชาและจำนวนคาบสอนที่ผู้บริหารจัดให้ ทำให้ครูผู้สอนปฏิบัติงานอย่างไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ซึ่งผู้บริหารย่อมไม่สามารถจัดรายวิชาและจำนวนคาบสอนให้เป็นไปตามความต้องการของครูทุกคนได้ ดังนั้นแต่ละโรงเรียนจึงพยาบาลหาวิธีการที่ดีที่สุดในการกำหนดรายวิชาและจำนวนคาบสอน ให้ตอบสนองความต้องการของครูและให้การสอนเกิดประสิทธิผลมากที่สุด วิธีการที่โรงเรียนต่าง ๆ นิยมใช้กันอยู่ในปัจจุบันคือวิธีการจัดของหัวหน้าหมวดวิชา ซึ่งวิธีการดังกล่าวเป็นวิธีการที่ขึ้นอยู่กับผู้บริหาร (หัวหน้าหมวดวิชา) และการตัดสินใจโดยไม่เป็นระบบที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพดังนั้นจึงควรนำเอาวิธีการที่เป็นระบบ เช่น วิธีการโปรแกรมเชิงเส้น มาช่วยในการแก้ปัญหาดังกล่าว วิทยานิพนธ์นี้ ศึกษาการนำเอาวิธีการโปรแกรมเชิงเส้นแบบจำนวนเต็มศูนย์หนึ่ง โดยใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของทิลเลต มากำหนดรายวิชาและจำนวนคาบสอนให้ครูผู้สอน เปรียบผลกับวิธีการจัดของผู้บริหาร (หัวหน้าหมวดวิชา) โดยใช้ข้อมูลจากโรงเรียนสระกะเทียมวิทยาคม จังหวัดนครปฐม และนำเอาโปรแกรมสำเร็จรูป EMPS (MIP MODE) มาทดลองใช้ประมวลผลข้อมูล รวมทั้งหาข้อดี ข้อเสียของการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปดังกล่าว ผลการวิจัยในครั้งนี้ สรุปได้ว่า วิธีการที่ใช้แบบจำลองของทิเลตกำหนดรายวิชาและจำนวนคาบสอน ให้ความชอบและต้องการสอน แก่ครูผู้สอนได้มากกว่าวิธีการจัดของหัวหน้าหมวดวิชา ให้จำนวนคาบสอนที่ยุติธรรม ใช้เวลาประมวลผลข้อมูลน้อยกว่า โดยเป็นระบบทางวิทยาศาสตร์ มีหลักเกณฑ์แน่นอน และตรวจสอบผลลัพธ์ได้ดีกว่า วิธีการจัดของหัวหน้าหมวดวิชาอย่างไรก็ตาม วิธีการที่ใช้แบบจำลองของทิลเลตยังจัดรายวิชาที่ให้ประสิทธิผลการสอน น้อยกว่า วิธีการจัดของหัวหน้าหมวดวิชา และใช้เวลา ค่าใช้จ่ายในเรื่องสื่อบันทึกข้อมูล มากกว่า วิธีการจัดของหัวหน้าหมวดวิชา ส่วนการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป EMPS (MIP MODE) มีข้อดีที่ การเขียนโปรแกรม การแปลผลลัพธ์สั้น เข้าใจง่าย มิวิธีการเพิ่มเติมช่วยหาผลลัพธ์ได้เร็วขึ้น และใช้ได้กับข้อมูลจำนวนมาก ๆ ได้สะดวก ส่วนข้อเสียคือ ต้องใช้เวลาและความละเอียดในการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลมาก รวมทั้งค่าใช้จ่ายเรื่องสื่อบันทึกข้อมูลมากด้วย | - |
dc.description.abstractalternative | Generally, secondary school administration work involves two important groups of people; administrators and teachers. These people must work together and support each other so as to solve the problems and obstacles encountered. One aspect of this teacher-administrator co-operation concerns assigning the number of courses and teaching load for each teacher. Teachers are sometimes dissatisfied with the assignment as arranged by the administrator, e.g., over some course they feel uncomfortable to teach or distribution of their teaching loads. This affects the efficiency of teaching. No matter how hard the administrators try, they can not successfully manage them to satisfy all the teachers needs. Each Department Head is usually entrusted with the responsibility of making teaching loads and courses arrangements for each teacher in the department. It is obvious that this approach is not systematic or efficient. The Linear Programming might be employed as a probable solution to this problem. This thesis is an attempt in employing the Zero-One Integer Linear Programming by implementing the Tillette’s Model in solving the above mentioned problem and in comparing the results of these two methods. The data were collected from sa-ka-thiam Wittayakom school in Nakorn Prathom province. It was concluded that the assignment of the teaching responsibilities through the Tillette’s Model could better accommodate the teacher’s preference with respect to particular courses and teaching loads. The Tillette’s Model technique was actually more effective, more scientifically systematic, less time-consuming, and more easily checked than the traditional approach that was done by the Department Heads. The technique, however, provided lower level of teaching effectiveness as compared to the traditional approach. Besides, it required more time and was more costly to code data on the media. FMPS presented a number and available procedures making it suitable for handling a large number of data. On the other hand, it required considerable time, careful double checking of data accuracy and higher expense for the media. | - |
dc.format.extent | 525645 bytes | - |
dc.format.extent | 608873 bytes | - |
dc.format.extent | 753036 bytes | - |
dc.format.extent | 1041120 bytes | - |
dc.format.extent | 1386902 bytes | - |
dc.format.extent | 376013 bytes | - |
dc.format.extent | 982270 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | โรงเรียนสระกะเทียมวิทยาคม | en |
dc.subject | ตารางสอน | en |
dc.subject | โปรแกรมเชิงเส้น | en |
dc.title | การประยุกต์วิธีการโปรแกรมเชิงเส้น เพื่อกำหนดรายวิชาให้ครูผู้สอน : กรณีศึกษา โรงเรียนสระกะเทียมวิทยา จังหวัดนครปฐม | en |
dc.title.alternative | Allocation of teachers to courses by linear programming : a case study of Sakathiam Wittayakom school Nakhon Pathom Province | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | สถิติศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | สถิติ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Krisada.V@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kumpon_Th_front.pdf | 513.33 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Kumpon_Th_ch1.pdf | 594.6 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Kumpon_Th_ch2.pdf | 735.39 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Kumpon_Th_ch3.pdf | 1.02 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kumpon_Th_ch4.pdf | 1.35 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kumpon_Th_ch5.pdf | 367.2 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Kumpon_Th_bcak.pdf | 959.25 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.