Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19874
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุปราณี วิเชียรเนตร-
dc.contributor.advisorสมรัตน์ เลิศมหาฤทธิ์-
dc.contributor.authorปรางทิพย์ โพธิวิรัตนานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-05-26T14:24:20Z-
dc.date.available2012-05-26T14:24:20Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19874-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปาก ของผู้ที่มีความเจ็บปวดช่องปาก-ใบหน้า โดยศึกษาแบบตัดขวางในผู้ป่วยจากคณะทันต-แพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 463 คน เป็นเพศชาย:หญิงเท่ากับ 1:1.4 อายุ 15-60 ปี เฉลี่ย 32.06±12.1 ปี ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มอาการปวดจากความผิดปกติบริเวณขมับ-ขากรรไกรร้อยละ 10 กลุ่มอาการปวดจากความผิดปกติในปากร้อยละ 68 และกลุ่มที่ไม่มีความเจ็บปวดช่องปาก-ใบหน้าร้อยละ 22 เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามที่มีคำถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล ลักษณะความเจ็บปวดช่องปาก-ใบหน้า ภาวะสุขภาพจิต และคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากโดยให้ตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง พบว่าความเจ็บปวดช่องปาก-ใบหน้าส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (Kruskal-Wallis test, P<0.0001) โดยกลุ่มความผิดปกติบริเวณขมับ-ขากรรไกรได้รับผลกระทบเรื่องความลำบากในการกินอาหาร และความรู้สึกกังวลกับลักษณะของตัวเองมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 57.1 ส่วนกลุ่มความผิดปกติจากอาการปวดในปากได้รับผลกระทบเรื่องปัญหาระหว่างการกินอาหารมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 42 ผลจากการศึกษาครั้งนี้แสดงว่าความเจ็บปวดช่องปาก-ใบหน้าส่งผลกระทบเชิงลบต่อคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากอย่างชัดเจน และสะท้อนทิศทางความต้องการการรักษาของผู้ที่มีความเจ็บปวดช่องปาก-ใบหน้าประเภทต่าง ๆen
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to investigate the oral health related quality of life (OHRQoL) in orofacial pain patients. A cross-sectional study was performed on 463 patients, aged 15-60, mean±S.D. = 32.06±12.1, male:female = 1:1.4, at Chulalongkorn University Dental School. Participants comprised 10% temporomandibular disorders (TMDs) patients, 68% intraoral pain patients and 22% non-orofacial pain patients. Data were collected by using self-administered questionnaires consisting of questions regarding demographic data, orofacial pain conditions, mental health status, and the OHRQoL. This study found that orofacial pain has a statistically impact on the OHRQoL (Kruskal-Wallis test, P<0.0001). In addition, discomfort while eating and self-consciousness were the items reported most impact in the TMDs group (57.1%), while interrupted meals were the most impact in the intraoral pain group (42%). As a result, orofacial pain showed a significant impact on OHRQoL and reflected the treatment needs in each orofacial pain type.en
dc.format.extent2211047 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.2230-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectหน้าบาดเจ็บ-
dc.subjectคุณภาพชีวิต-
dc.subjectเวชศาสตร์ช่องปาก-
dc.titleผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากของผู้ป่วยทันตกรรมที่มีความเจ็บปวดช่องปาก-ใบหน้า ในคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.title.alternativeImpact on oral health related quality of life in orofacial pain patients at Chulalongkorn University Dental Schoolen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineทันตกรรมบดเคี้ยวes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSupranee.V@Chula.ac.th-
dc.email.advisorSomrat.L@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.2230-
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Prangtip_po.pdf2.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.