Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20015
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุกรี สินธุภิญโญ-
dc.contributor.authorวรุตม์ โรจน์รุ่งวศินกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-06-03T09:57:44Z-
dc.date.available2012-06-03T09:57:44Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20015-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractการจำแนกผู้ใช้จากระยะเวลาในการพิมพ์ เป็นหนึ่งในวิธีการยืนยันตัวตนที่น่าสนใจในปัจจุบัน เพราะสามารถใช้งานได้โดยไม่ต้องติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติม และยังสามารถใช้ร่วมกับวิธีการจำแนกด้วยชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านแบบเดิมได้อีกด้วย งานวิจัยที่ผ่านมาอาจแบ่งได้เป็นสองประเภท คืองานวิจัยที่ศึกษาการใช้ข้อความที่ถูกกำหนดไว้ และงานวิจัยที่ศึกษาการใช้ข้อความอิสระ งานวิจัยส่วนมากนั้นจะเป็นศึกษาการใช้ข้อความที่ถูกกำหนดไว้ และมีบางงานวิจัยที่รายงานผลการจำแนกได้ดีมาก มีเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่ศึกษาการใช้ข้อความอิสระ และงานวิจัยเหล่านั้นยังต้องการข้อความอิสระขนาดยาวเพื่อให้ได้ผลการจำแนกที่ดี วิทยานิพนธ์นี้จึงนำเสนอวิธีการใช้ข้อความอิสระขนาดสั้น เพื่อให้ได้ผลการจำแนกที่ดีขึ้นกว่างานวิจัยที่เคยมีมา โดยใช้วิธีการแปลงข้อมูลเวลาในการพิมพ์จากตัวอย่าง ให้เป็นเวกเตอร์ของคุณลักษณะทางสถิติที่สามารถนำไปใช้งานกับนิวรอลเน็ตเวิร์กได้ และยังเสนอการผสานคุณลักษณะเพื่อให้ได้ผลการจำแนกที่ดีขึ้นอีกด้วย จากผลการทดลองพบว่า วิธีการที่นำเสนอให้ผลการจำแนกผู้ใช้ได้ดีกว่าวิธีอื่นเมื่อใช้ข้อความอิสระขนาดสั้น และให้ผลการจำแนกเทียบเท่ากันกับวิธีอื่น เมื่อใช้ข้อความอิสระที่มีความยาวมากขึ้นen
dc.description.abstractalternativeCurrently, user classification using keystroke latency patterns is one of the interesting authentication methods because this method does not require any additional devices and can be combined with traditional username-password authentication. Previous research can be categorized into two groups, namely fixed-text and works free-text. Most of the works concerned fixed-text and some of them reported a very good result. Only a few works concerned free-text and those works still require long free-text input sample to obtain a good classification result. Thus, this thesis proposes a method to use short length free-text input and obtain better user classification result. This method consists of how to transform keystroke latencies from a sample into a vector of statistical features that can be used with neural network and also proposes a combination of features to obtain better user classification result. The results show that the proposed method yields better classification result when using short length free-text input and also gives comparable results when using longer free-text input.en
dc.format.extent2567035 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.188-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเครือข่ายคอมพิวเตอร์ -- มาตรการความปลอดภัยen
dc.subjectคอมพิวเตอร์ -- การควบคุมการเข้าถึง-
dc.subjectความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์-
dc.subjectนิวรัลเน็ตเวิร์ค (คอมพิวเตอร์)-
dc.subjectComputer networks -- Security measures-
dc.subjectComputers -- Access control-
dc.subjectComputer security-
dc.subjectNeural networks ‪(Computer sciences)‬-
dc.titleการผสานคุณลักษณะทางสถิติกับนิวรอลเน็ตเวิร์กเพื่อจำแนกผู้ใช้บนข้อความอิสระขนาดสั้นen
dc.title.alternativeA combination of statistical features and neural networks to classify users on short free texten
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมคอมพิวเตอร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.188-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
warut_ro.pdf2.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.