Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20087
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงศ์ศักดิ์ เหลืองอร่าม-
dc.contributor.authorนันทสิทธิ์ วิทยพัธนา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-06-06T14:28:24Z-
dc.date.available2012-06-06T14:28:24Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20087-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractการคาดการณ์อย่างสมเหตุสมผล (Rational ความสามารถที่จำกัดในการประมวลผลและข้อมูลต่างๆ การศึกษาครั้งนี้จึงใช้แนวคิดเรื่องการเงินเชิงพฤติกรรม (Behavioral Finance) เพื่อวิเคราะห์บทบาทของอัตราexpectation) เป็นสมมติฐานหลักที่ได้รับความนิยมในการทำแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ อย่างไรก็ตามสมมติฐานดังกล่าวไม่สอดคล้องกับพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจริงของมนุษย์ซึ่งมีความดอกเบี้ยที่มีต่ออัตราแลกเปลี่ยนและพฤติกรรมความผันผวนของตัวแปรอื่นๆในระบบเศรษฐกิจโดยใช้เพียงกฎการคาดการณ์อย่างง่ายในการคาดการณ์ เมื่อเปรียบเทียบผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่ไม่ได้คาดการณ์ของผลผลิต อัตราเงินเฟ้อ อัตราดอกเบี้ย และอัตราแลกเปลี่ยนต่อตัวแปรต่างๆในระบบเศรษฐกิจ ในกรณีการคาดการณ์เป็นแบบสมเหตุสมผลและการคาดการณ์อย่างง่าย พบว่ามีทิศทางที่คล้ายกันแต่ขนาด ในกรณีการคาดการณ์อย่างง่ายจะน้อยกว่า (ยกเว้นผลที่เกิดจากการเปลี่ยนที่ไม่ได้คาดการณ์ของอัตราแลกเปลี่ยน) นอกจากนี้ยังพบว่าเมื่อเพิ่มระดับการตอบสนองของนโยบายการเงินที่มีต่ออัตราแลกเปลี่ยน ทั้งส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของสัดส่วนช่องว่างการผลิตและอัตราเงินเฟ้อจะลดลงในช่วงแรก หลังจากการนั้นการเพิ่มการตอบสนองจะทำให้ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของทั้งสองตัวแปรเพิ่มมากขึ้น ธนาคารกลางจึงควรดำเนินนโยบายการเงินโดยมีการตอบสนองต่ออัตราแลกเปลี่ยนเพียงเล็กน้อยen
dc.description.abstractalternativeThe rational expectation hypothesis has now become the main building block of macroeconomic modeling. However this assumption contradicts the real human behaviour due to the cognitive abilities. In this study, we relax the rational expectation hypothesis. We develop Small Open Economy model using behavioral finance framework and study the role of monetary policy that affect behaviour of exchange rate as well as standard deviation of major economic variables via simple rule of thumbs We compare impulse response function of economic variables to output shock, inflation shock, interest rate shock and exchange rate shock generated by rational model and simple rule of thumbs model. The finding is that the size of the effects of the same shock in economic variables is lower in the simple rule of thumbs model (except the case of impulse response function to exchange rate shock). In addition, we find that as the degree of exchange rate intervention increases the standard deviations of output gap, inflation decline. At some point, however, the standard deviations of output and inflation increase dramatically, We conclude that mild forms of exchange rate intervention can be effective in reducing macroeconomic volatility.en
dc.format.extent1813752 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.383-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectนโยบายการเงินen
dc.subjectแบบจำลองทางการเงินen
dc.titleนโยบายการเงินและอัตราแลกเปลี่ยนภายใต้แบบจำลองการเงินเชิงพฤติกรรมen
dc.title.alternativeMonetary policy and exchange rate in behavioral finance modelen
dc.typeThesises
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPongsak.L@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.383-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nuntasit_wi.pdf1.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.