Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2011
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุรีพร ธนศิลป์ | - |
dc.contributor.author | จิตติมา ทุ่งพรวญ, 2521- | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2006-08-19T11:50:35Z | - |
dc.date.available | 2006-08-19T11:50:35Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.isbn | 9745322784 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2011 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง ชนิดกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ของข้าราชการทหารชั้นประทวน ก่อน และหลังได้รับโปรแกรมการจัดการตนเอง กลุ่มตัวอย่าง เป็นข้าราชการทหารชั้นประทวน ค่ายกาวิละ จังหวัดเชียงใหม่ ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 30 นาย เข้าร่วมโปรแกรมเป็นเวลา 6 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองคือ โปรแกรมการจัดการตนเองที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจากแนวคิดการจัดการตนเองของ Glasgow (1986) มี 5 ขั้นตอนคือ 1) วิธีการทำให้ไม่พึงพอใจ 2) การควบคุมสิ่งเร้า และเลือกลักษณะพฤติกรรม 3) การกำหนดพฤติกรรมเป้าหมาย และการทำสัญญากับตนเอง 4) การเตือนตนเอง 5) การทำให้พฤติกรรมคงอยู่โดยมีแผนการสอนเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการสูบบุหรี่ คู่มือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการสูบบุหรี่ และแบบบันทึกการสูบบุหรี่ประจำวันด้วยตนเอง เป็นสื่อที่ใช้ในโปรแกรม ซึ่งได้รับการตรวจสอบความเหมาะสมของกิจกรรม และความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือ แบบบันทึกการสูบบุหรี่ประจำวันด้วยตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ และทดสอบความแตกต่างของแต่ละคู่ด้วย Bonferroni ผลการวิจัยสรุปดังนี้ ข้าราชการทหารชั้นประทวนสูบบุหรี่ในปริมาณ และความถี่หลังได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองลดลงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการจัดการตนเอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | en |
dc.description.abstractalternative | This one group pretest posttest design study aimed to compare the effects of a self-management program on smoking behavior among non commissioned officer. Data were collected before and after the intervention. Study sample consisted of 30 non commissioned officers at Kavila military camp, Chiang Mai Province. The program, based on the Self-Management concept of Glasgow (1986), was comprised of 5 sessions: 1) aversive techniques, 2) stimulus control and alternative behaviors, 3) goal setting and self reward contracting, 4) self-monitoring, and 5) maintenance strategies. Data were analyzed using descriptive statistics, repeated measures analysis of variance and Bonferronis statistic. The major findings were: smoking behaviors, comprised of quantity of smoking and frequency of smoking, were significantly decreased after receiving the self-management program (p [is less than or equal to] .05). | en |
dc.format.extent | 858110 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | พฤติกรรมสุขภาพ | en |
dc.subject | การสูบบุหรี่ | en |
dc.title | ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของข้าราชการทหารชั้นประทวน | en |
dc.title.alternative | The effect of self-management program on smoking behavior among non commissioned officers | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | พยาบาลศาสตร์ | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Sureeporn.T@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Nurse - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
chittima.pdf | 965.16 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.