Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20427
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPrasert Pavasant-
dc.contributor.advisorSorawit Powtongsook-
dc.contributor.authorPuchong Sriouam-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Engineering-
dc.date.accessioned2012-06-19T04:08:58Z-
dc.date.available2012-06-19T04:08:58Z-
dc.date.issued2007-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20427-
dc.descriptionThesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2007en
dc.description.abstractalternativeการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อขีดจำกัดในการเพาะเลี้ยงไดอะตอม คีโตเซอรรอส คาลซิแทรนซ์ เช่น สารอาหาร การบังแสงจากฟองอากาศ และการบังแสงจากตัวไดอะตอมเอง พบว่า การปรับเปลี่ยนปริมาณของสารที่เป็นองค์ประกอบในอาหารชนิด Modified F/2 medium ได้แก่ ซิลิกอน (โซเดียมซิลิเกต) ไนโตรเจน (ไนเตรต) และ ฟอสฟอรัส (ฟอสเฟต) ไม่ส่งผลต่อค่าความเข้มข้นเซลล์สูงสุด แต่กลับมีผลต่อค่าอัตราการเจริญเติบโตจำเพาะ (µ) การบังแสงจากจำนวนฟองอากาศที่มากเกินที่เกิดในส่วนของไหลไหลลง (Downcomer) ในระบบอากาศยก เรียกว่า “การบังแสงจากฟองอากาศ” ในการเพาะเลี้ยงคีโตเซอรอส คาลซิแทรนซ์ สามารถลดปัญหาการบังแสงจากฟองอากาศได้ด้วยการใช้ถังปฏิกรณ์ชีวภาพเชิงแสงที่มีการขยายขนาดของยอดหอ ซึ่งการแยกตัวของฟองอากาศจากของเหลวที่บริเวณยอดหอทำให้ความสามารถในการส่องผ่านของแสงเข้าสู่ระบบมีค่าสูงขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อเทียบกับการใช้ถังปฏิกรณ์เชิงแสงแบบเดิม จำนวนความเข้มข้นเซลล์สูงสุดที่ได้จากถังปฏิกรณ์แบบขยายขนาดยอดหอมิได้เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ในการเพาะเลี้ยงไดอะตอม พบว่ายังมีผลของ “การบังแสงจากตัวไดอะตอมเอง” ซึ่งเกิดจากการที่ความเข้มข้นของไดอะตอมมีค่ามาก มากจนบังแสงที่จะส่องเข้าไปข้างในถังปฏิกรณ์ส่งผลให้ไดอะตอมที่อยู่ด้านในได้รับปริมาณความเข้มแสงไม่เพียงพอที่จะสังเคราะห์แสง ในที่สุดไดอะตอมก็จะไม่เจริญเติบโตและได้ความเข้มข้นน้อย การใช้ถังปฏิกรณ์ขนาดเล็กและต่อกันแบบอนุกรมโดยเลี้ยงในระบบต่อเนื่องสามารถลดปัญหาการบังแสงจากตัวไดอะตอมได้ เนื่องจากไดอะตอมจะกระจายไปอยู่ในถังปฏิกรณ์แต่ละถังทำให้ความเข้มข้นในถังที่ 1 มีความเข้มข้นน้อยลง แสงส่องผ่านได้มากขึ้นส่งผลให้ไดอะตอมเจริญเติบโตได้มากขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม จากการวิเคราะห์หาค่าความสามารถในการผลิตจำเพาะ (Specific productivity) พบว่าการเพาะเลี้ยงไดอะตอมในถังปฏิกรณ์ขนาดเล็กแบบถังเดียว ให้ค่าความสามารถในการผลิตจำเพาะสูงกว่าการเพาะเลี้ยงแบบ 3 ถังต่ออนุกรมen
dc.format.extent1748378 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1539-
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectDiatomsen
dc.titleDebottlenecking of the airlift cultivation process for Chaetoceros calcitransen
dc.title.alternativeการลดขีดจำกัดของกระบวนการเลี้ยงคีโตเซอรอส คาลซิแทรนซ์ แบบอากาศยกen
dc.typeThesises
dc.degree.nameMaster of Engineeringes
dc.degree.levelMaster's Degreees
dc.degree.disciplineChemical Engineeringes
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
dc.email.advisorprasert.p@chula.ac.th-
dc.email.advisorSorawit.P@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.1539-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Puchong_Sr.pdf1.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.