Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20505
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มาโนช โลหเตปานนท์ | - |
dc.contributor.author | ภาสภณ ชัยบูรณ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-07-06T12:25:19Z | - |
dc.date.available | 2012-07-06T12:25:19Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20505 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 | en |
dc.description.abstract | ลักษณะที่สำคัญของรูปแบบการขนส่งแบบเต็มคันคือ การเข้า - ออกจากธุรกิจการขนส่งแบบเต็มคันนั้นทำได้ง่าย ดังนั้นจึงมีการแข่งขันกันระหว่างผู้ประกอบการรถบรรทุกสูง การควบคุมต้นทุนจึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับผู้ประกอบการในการสร้างความสามารถในการแข่งขัน เนื่องจากการเดินรถเที่ยวเปล่าเป็นความสูญเสียที่สำคัญในการจัดการการขนส่งแบบเต็มคัน ดังนั้นผู้ประกอบการจึงจำเป็นต้องหาสินค้ากลับมาในเที่ยวกลับเพื่อให้เกิดประโยชน์จากใช้งานรถบรรทุกให้มากขึ้น บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบจำลองสถานการณ์เพื่อช่วยวิเคราะห์วางแผนการรับจ้างขนส่งสินค้าของผู้ประกอบการ โดยอาศัยข้อมูลคำสั่งขนส่งสินค้าของผู้ว่าจ้างขนส่งสินค้าตัวอย่าง ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับคือแบบจำลองสถานการณ์ต้นแบบสำหรับวิเคราะห์ความเหมาะสมของการรับจ้างขนส่งสินค้าในมุมมองของความเป็นไปได้ของการขนส่งเที่ยวกลับ | en |
dc.description.abstractalternative | The ease of market entry and exit is one of the major characteristics of the truckload transportation, resulting in high competition among carriers. Cost control is thus one of the most important priorities for carriers in order to be able to compete in the market. Empty haul is a major loss in truckload operation. Carriers have to find way to utilize trucks most efficiently by planning effective backhaul trips. The objective of this article is to develop a simulation model for full truckload operation network by studying the distribution of transportation demands using actual data from carriers. The anticipated benefit of this study is to obtain a prototype simulation model for the determination of whether or not to accept loads based on the prospect of potential backhauls. | en |
dc.format.extent | 5259981 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.638 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การขนส่งสินค้า -- การควบคุมต้นทุนการผลิต | - |
dc.subject | การขนส่งด้วยรถบรรทุก -- การควบคุมต้นทุนการผลิต | - |
dc.title | แบบจำลองเชิงความน่าจะเป็นสำหรับวิเคราะห์การเดินรถเที่ยวกลับ | en |
dc.title.alternative | Probabilistic model for backhaul analysis | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมโยธา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Manoj.L@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2010.638 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
passapon_ch.pdf | 5.14 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.