Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20830
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีระ อาชวเมธี-
dc.contributor.authorพิณทิพย์ วีรกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-07-14T05:01:28Z-
dc.date.available2012-07-14T05:01:28Z-
dc.date.issued2519-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20830-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2519en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะเปรียบเทียบการเรียนตัวอักษรไทยที่คล้ายกัน 4 ตัว คือ ม น ภ และ ล ด้วยวิธีต่างๆ 4 วิธี และเปรียบเทียบว่าการเรียนตัว ม และ น กับ ภ และ ถ แบบใดเรียนยากกว่ากัน วิธีการเรียนตัวอักษร 4 วิธี คือ วิธีที่ 1 ผู้รับการทดลองเรียนรายการคำโยงคู่ที่มีตัวอักษรที่แยกส่วนประกอบออกจากกันเป็นสิ่งเร้า และชื่อของตัวอักษรนั้นเป็นการตอบสนอง (รายการA) แล้วจึงเรียนรายการคำโยงคู่ที่มีตัวอักษรที่สมบูรณ์เป็นสิ่งเร้า และชื่อของตัวอักษรนั้นเป็นการตอบสนอง (รายการB) วิธีที่ 2 ผู้รับการทดลองเรียนรายการ B อย่างเดียว แต่ก่อนเรียนรายการ B แต่ละครั้ง ผู้วิจัยจะเสนอรูปและชื่อสิ่งเร้าของรายการ A ก่อน วิธีที่ 3 ผู้รับการทดลองเรียนรายการ B อย่างเดียวแต่ก่อนเรียนแต่ละครั้ง ผู้วิจัยจะอธิบายถึงการประกอบเข้าเป็นตัวอักษรแต่ละตัว และให้ดูแผนภาพประกอบเป็นตัวอักษรด้วย วิธีที่ 4 ผู้รับการทดลองเรียนรายการ B แต่เพียงอย่างเดียว กลุ่มตัวอย่างอายุระหว่าง 2 ปี 8 เดือน ถึง 6 ปี จำนวน 120 คน สุ่มแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ 30 คน แต่ละกลุ่มได้รับการทดลองในแต่ละวิธีดังกล่าวข้างต้น ข้อมูลถูกนำมาวิเคราะห์ด้วยการทดสอบ ไค-สแควร์ และวิเคราะห์ความแปรปรวนชั้นเดียว ตามด้วยการทดสอบ นิวแมน-คูลส์ ผลของการวิจัยสรุปได้ว่า 1) ค่าเฉลี่ยของจำนวนครั้งที่ผู้รับการทดลองกลุ่มที่ 1 ใช้ เรียนตัวอักษร มากกว่าค่าเฉลี่ยของจำนวนครั้งที่ผู้รับการทดลองกลุ่มที่ 4 เรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ค่าเฉลี่ยของจำนวนครั้งที่ผู้รับการทดลองกลุ่มที่ 2 ใช้เรียนตัวอักษรน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของจำนวนครั้งที่ผู้รับการทดลองกลุ่มที่ 4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) ค่าเฉลี่ยของจำนวนครั้งที่ผู้รับการทดลองกลุ่มที่ 3 ใช้เรียนตัวอักษร น้อยกว่าค่าเฉลี่ยของจำนวนครั้งที่ผู้รับการทดลองกลุ่มที่ 2 เรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) การเรียนตัวอักษร ม และ น ผิดน้อยกว่าการเรียนตัว ภ และ ถ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to compare four methods in learning similar Thai letters, namely, ม, น, ภ, and their rela¬tive difficulties in learning tasks. The four methods were as follows. Firstly, learning the first paired - associate list (list A) that had separated letters as stimuli and the names of those letters as responses before learning the second paired - associate list (list B) of normal letters as stimuli and the names of those letters as responses; subjects learned both lists by paired - associate study - test procedure. Secondly, cards of letter as stimuli in list A and its pronunciation were presented one by one before each trial of learning task in list B, list B was learned by paired - associate study - test procedure. Thirdly, illustration and construction of each letter were explained before learning each trial of list B by paired - associate study - test procedure. Fourthly, list B was learned by paired - associate study - test procedure. One hundred and twenty pre-school children of 2.6 to 6 years of age randomly divided into 4 groups were used as subjects for the four method employed. Means were computed; chi-square teat and analysis of varience were conducted, followed by Newman-Keuls test. The results of the study were as follows: 1. The number of trials to criterion by using method 1 was higher than that used in method 4 at significant level .05. 2. The number of trials to criterion by using method 4 was higher than that used in method 2 at significant level.01. 3. The number of trials to criterion by using method 2 was higher than that used in method 3 at significant level .05. 4. There were more errors in learning ม and น compare to learning ภ and ถ-
dc.format.extent342137 bytes-
dc.format.extent527233 bytes-
dc.format.extent361860 bytes-
dc.format.extent313686 bytes-
dc.format.extent295564 bytes-
dc.format.extent279162 bytes-
dc.format.extent375758 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเรียนรู้en
dc.subjectตัวอักษรen
dc.titleการโอนการเรียนรู้ในการเรียนอักษรไทยที่คล้ายกันen
dc.title.alternativeTransfer of learning in learning similar Thai lettersen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pintip_Vi_front.pdf334.12 kBAdobe PDFView/Open
Pintip_Vi_ch1.pdf514.88 kBAdobe PDFView/Open
Pintip_Vi_ch2.pdf353.38 kBAdobe PDFView/Open
Pintip_Vi_ch3.pdf306.33 kBAdobe PDFView/Open
Pintip_Vi_ch4.pdf288.64 kBAdobe PDFView/Open
Pintip_Vi_ch5.pdf272.62 kBAdobe PDFView/Open
Pintip_Vi_back.pdf366.95 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.