Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20886
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุรพัฒน์ วัชรประทีป | - |
dc.contributor.author | พิพัฒน์ ลิมปิกิรติ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-07-15T02:44:42Z | - |
dc.date.available | 2012-07-15T02:44:42Z | - |
dc.date.issued | 2528 | - |
dc.identifier.isbn | 9745647608 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20886 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บช.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528 | en |
dc.description.abstract | อุตสาหกรรมยางรถยนต์ เป็นอุตสาหกรรมหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศไทย โดยจะเห็นได้จากเป้าหมายประการหนึ่งของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คือการเร่งและการขยายการก่อสร้างถนนหนทางเพื่อเชื่อมโยงระบบเศรษฐกิจของชนบทกับเมืองหลวงให้มีความคล่องตัว เมื่อเป็นดังนี้ทำให้เกิดความจำเป็นในการใช้รถยนต์และยานพาหนะอื่นๆ มากขึ้น สิ่งที่ตามมาคือความต้องการทางด้านยางรถยนต์ ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สำคัญส่วนหนึ่งของรถยนต์ ดังนั้นในปี พ.ศ. 2506 รัฐบาลโดยคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนแห่งประเทศไทยได้พิจารณาให้มีการจัดตั้งโรงงานผลิตยางรถยนต์ขึ้นเป็นครั้งแรก เพื่อเป็นการทดแทนการนำเข้ายางรถยนต์จากต่างประเทศและต่อมาก็มีการเพิ่มโรงงานมากขึ้น ในปัจจุบันสามารถผลิตเพียงพอต่อความต้องการในประเทศและส่งเสริมสินค้าออกอย่างหนึ่งที่ทำรายได้ให้กับประเทศประมาณ 100 ล้านบาทในปี พ.ศ. 2526 อุตสาหกรรมยางรถยนต์ยังมีส่วนร่วมช่วยสนับสนุนต่อการขยายตัวทางการเพาะปลูกยางพารา ซึ่งใช้เป็นวัตถุดิบที่สำคัญในการผลิตยางรถยนต์ อุตสาหกรรมการผลิตผงเขม่าดำ เป็นวัตถุดิบให้สีและความเสียดทาน เพื่อทดแทนการนำเข้าจากต่างประเทศ สิ่งที่สำคัญประการหนึ่งของอุตสาหกรรมยางรถยนต์ คือมีส่วนช่วยนำเอาวิวัฒนาการและเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามาในประเทศเป็นการเสริมสร้างความรู้และวิชาการต่างๆ ในการพัฒนาประเทศเป็นอย่างดี พร้อมกันนั้นยังมีส่วนในการส่งเสริมการลงทุนโดยชักจูงชาวต่างชาติให้เข้ามาร่วมลงทุน สร้างโรงงาน และก่อเกิดการว่าจ้างแรงงานไทยขึ้นภายในประเทศ การตลาดของอุตสาหกรรมยางรถยนต์ มีลักษณะตลาดเป็นแบบผู้ขายน้อยรายโดยยอกขายประมาณร้อยละ 80 เป็นของ 3 บริษัทผู้ผลิตชั้นนำ ได้แก่ บริษัทไทยบริดจ์สโตน บริษัทยางสยามจำกัด (เดิมคือบริษัทไฟร์สโตน จำกัด) และบริษัทกู้ดเยียร์ (ประเทศไทย) จำกัด นอกจากนี้ยังประกอบด้วย โรงงานผู้ผลิตรายย่อย และยางรถยนต์ ที่นำเข้าจากต่างประเทศ สำหรับวิธีการศึกษาถึงการตลาดของอุตสาหกรรมยางรถยนต์นั้น จะพิจารณาถึงการแบ่งส่วนตลาดและเลือกตลาดเป็นเป้าหมายตามประเภทของยางรถยนต์ ซึ่งมีกลุ่มของผู้บริโภคได้แก่ โรงงานประกอบรถยนต์ และกลุ่มผู้ใช้เพื่อทดแทนยางเก่า เช่น ร้านค้าตัวแทนจำหน่าย บริษัทผู้ขายน้ำมัน บริษัทที่มีรถยนต์ไว้ใช้งาน และหน่วยงานรัฐบาลเพื่อให้ได้รู้ส่วนร่วมของตลาด และกลุ่มผู้บริโภคที่เป็นเป้าหมายของแต่ละบริษัท นอกจากนี้ได้พิจารณาถึงส่วนผสมทางการตลาดประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์ ราคา ช่องทางการจำหน่ายและส่งเสริมการจำหน่าย เพื่อให้ได้ทราบถึงความเหมาะสมของการเลือกใช้กลยุทธ์ทางการตลาด เป็นแนวทางสำหรับการแข่งขัน การวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผลของการวิจัย ได้จากการสัมภาษณ์ บริษัทผู้ผลิตตัวแทนผู้นำเข้า ร้านค้า และกลุ่มตัวแทนผู้ใช้ยางรถยนต์เพื่อทดแทนยางเก่า และออกแบบสอบถามผู้ใช้รถยนต์ประเภทต่างๆ ทั้งนี้เพื่อให้ทราบถึงทัศนคติที่มีต่อยางรถยนต์รวมถึงสิ่งที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อ แล้วจึงสรุปถึงปัญหาต่างๆ พร้อมทั้งแนวทางการแก้ปัญหาและข้อเสนอแนะ ผู้เขียนหวังว่า วิทยานิพนธ์ชุดนี้จะนำมาซึ่งความรู้ความเข้าใจอันเป็นประโยชน์สำหรับผู้ประกอบการและผู้ที่มีความสนใจในเรื่องนี้ไม่มากก็น้อย | - |
dc.description.abstractalternative | Rubber tyre manufacturing is an important industry to the Thai economic development program. Highway development has been implementing since the first National Economic and Social Development Plan in early sixties to speed up the land transportation between cities and provinces. Hence more utilization on automobiles for transportation followed and rubber tyres were significantly developed accordingly. In 1963 the Board of Invesment approved the first promoted rubber tyre factory. This was aimed at reducing importation of foreign rubber tyres. The industry has grown rapidly with the addition of several new rubber tyre manufactures, today the export market has been almost 100 million Baht in 1983. Rubber tyre industry also supports the expansion of parawood plantation area, another industry integrated from rubber tyre industry is carbon black manufacturing, which is also promoted by the Board of Investment. Rubber tyre industry also help introduce new technology and development into the country. This serves other ares in the development of the country and involves in promoting investment by foreign entities to the country provide more employment vacancies for the local people. The industry is considered as an oligopoly market with 80 percent of the market share belongs to the three leading firms, by Goodyear (Thailand) Co., Ltd., Thai Bridgestone Co., Ltd., Siam Tyre Co., Ltd. (former Firestone). Imported products and smaller manufacturers share the rest. Study on marketing consists of market segmentation with respect to types of rubber tyres and groups of buyers such as automobile assembly plants, retail outlets for replacement, government authorities and others. Market shares and target consumer groups of each leading manufacturers are analysed to outline their marketing strategies, especially on marketing mix (product, price, place and promotion) Processing’s of information on rubber tyres manufacturers, dealers, automobile assembly manufacturers and group of replace ment users, Questionnaires and interviews on Opinions, factors influencing purchasing decision. Final study are problems and way of solvings. I hope this thesis will be useful for better understanding by entrepeneurs and those who are interested in this industry. | - |
dc.format.extent | 424659 bytes | - |
dc.format.extent | 300556 bytes | - |
dc.format.extent | 825647 bytes | - |
dc.format.extent | 1516078 bytes | - |
dc.format.extent | 772827 bytes | - |
dc.format.extent | 415150 bytes | - |
dc.format.extent | 1127923 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | รถยนต์ -- ยาง -- การตลาด | en |
dc.subject | อุตสาหกรรมยางรถ | en |
dc.subject | การตลาด | en |
dc.title | การศึกษาการตลาดยางรถยนต์ในเขตกรุงเทพมหานครระหว่างปี พ.ศ.2520-2526 | en |
dc.title.alternative | A study on marketing for automobile tyres in Bangkok metropolis from 1977-1983 | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | บัญชีมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การบัญชี | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pipat_Li_front.pdf | 414.71 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pipat_Li_ch1.pdf | 293.51 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pipat_Li_ch2.pdf | 806.3 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pipat_Li_ch3.pdf | 1.48 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pipat_Li_ch4.pdf | 754.71 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pipat_Li_ch5.pdf | 405.42 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pipat_Li_back.pdf | 1.1 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.