Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21035
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีพร ธนศิลป์-
dc.contributor.authorทิพวรรณ คุนุพันธ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-07-21T01:52:21Z-
dc.date.available2012-07-21T01:52:21Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21035-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความวิตกกังวลของผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก ที่มีทวารเทียมทางหน้าท้อง กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่เข้ารับการรักษาด้วยการผ่าตัดทำทวารเทียม ในโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี และศูนย์มะเร็งอุบลราชธานี จำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 20 คน กลุ่มทดลอง 20 คน กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ ในขณะที่กลุ่มทดลองได้รับข้อมูลแบบกลุ่ม ซึ่งประกอบด้วย กระบวนการกลุ่ม 3 ระยะ คือ 1) ระยะเริ่มต้น หรือระยะสร้างสัมพันธภาพ 2) ระยะให้ข้อมูลแบบกลุ่ม และ 3) ระยะสิ้นสุดกิจกรรมกลุ่ม โดยผู้วิจัยพบผู้ป่วยเป็นรายกลุ่ม จำนวน 4 ครั้ง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบวัดความวิตกกังวลตามสถานการณ์ของสปิลเบอร์เกอร์( 1983) มีค่าความเที่ยงจากการคำนวณค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของคอนบราค เท่ากับ .81 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย สถิติทดสอบค่าที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความวิตกกังวลของผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่มีทวารเทียมทางหน้าท้อง ภายหลังได้รับการให้ข้อมูลแบบกลุ่มต่ำกว่าก่อนได้รับการ ให้ข้อมูลแบบกลุ่ม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ความวิตกกังวลของผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่มีทวารเทียมทางหน้าท้อง ภายหลังได้รับการให้ข้อมูลแบบกลุ่ม ต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับเฉพาะการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThis quasi experimental research aimed to examine the effect of information giving in group on anxiety of colorectal cancer patients with colostomy. Forty colorectal cancer patients with colostomy from Sapprasitthiprasong Hospital and Ubonratchathani Cancer Center were assigned equally into the control group and the experimental group. The control group received routine nursing care while the experimental group received information giving in group that composed of three phases: 1) The Introductory Phase or Initiating Phase. 2) The phase of giving information in group and 3) Terminating Phase. The researcher met the participation for 4 times. The instrument for collecting data was the State-Trait Anxiety Inventory form Y-1 of Spielberger et al (1983). The data were analyzed by using t-test. Major results were as follows : 1. The post test state anxiety of the experimental group was significantly lower than at the pre test phase (p < .05). 2. The post test state anxiety of the experimental group was significantly lower than that of the control group (p < .05).en
dc.format.extent2135154 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.586-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโคลอน (ลำไส้ใหญ่) -- มะเร็งen
dc.subjectเรคตัม -- มะเร็งen
dc.subjectโคลอสโตมี -- การพยาบาลen
dc.subjectความวิตกกังวลen
dc.subjectกลุ่มสัมพันธ์en
dc.titleผลของการให้ข้อมูลแบบกลุ่มต่อความวิตกกังวลของผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่มีทวารเทียมทางหน้าท้องen
dc.title.alternativeThe effect of information giving in group on anxiety of colorectal cancer patients with colostomyen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSureeporn.T@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.586-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
thippawan_kh.pdf2.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.