Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21052
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรชัย ชัยทัศนีย์-
dc.contributor.authorรองฤทธิ์ ฉัตรถาวร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-07-21T03:12:29Z-
dc.date.available2012-07-21T03:12:29Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21052-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractเนื่องจากในปัจจุบันระบบไฟฟ้าในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลหรือเขตนครหลวงมี ค่าขนาดกระแสลัดวงจรในระบบสูงมากกว่าค่า Interrupting Capacity (IC) ของอุปกรณ์ป้องกันระบบไฟฟ้า (Circuit Breaker) ดังนั้นการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) จึงได้ศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้สอดรับกับเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้น โดยคำนึงถึงการจัดเรียงระบบไฟฟ้าใหม่ เช่น การเปิดวงจรสายส่ง และการแบ่งแยกบัส ซึ่งจะช่วยแก้ไขปัญหาค่าระดับกระแสลัดวงจรสูง อย่างไรก็ตาม การเปิดวงจรสายส่งและการแบ่งแยกบัสมีแนวโน้มที่จะส่งผลให้ดัชนีความเชื่อถือได้ของระบบลดลง ซึ่งทาง กฟผ. ยังไม่ได้มีการประเมินการเปลี่ยนแปลงความเชื่อถือได้ในส่วนนี้ หากระดับความเชื่อถือได้ไม่เป็นที่ยอมรับ อาจจำเป็นต้องมีการใช้วิธีการลดกระแสลัดวงจรอื่นๆ แทน เช่น การติดตั้งอุปกรณ์ส่งไฟฟ้ากระแสตรงแรงดันสูง (เอชวีดีซี) เพิ่มเติมในระบบ อย่างไรก็ดี วิธีการนี้ใช้เงินลงทุนค่อนข้างสูง วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้นำเสนอการประเมินดัชนีความเชื่อถือได้ของระบบไฟฟ้าที่ได้ทำการปรับเปลี่ยนโครงข่าย และระบบไฟฟ้าที่ติดตั้งอุปกรณ์เอชวีดีซี โดยทดสอบกับระบบ IEEE Reliability Test System 79 และระบบไฟฟ้าจริงของประเทศไทยโดยพิจารณาเฉพาะในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลen
dc.description.abstractalternativeAt present, the increasing amounts of short circuit currents in Bangkok and the vicinity areas are higher than the Interrupting Capacity (IC) of circuit breakers. To cope with the problem, Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT) came up with the solutions of network reconfiguration, for example, transmission line disconnecting and bus splitting. These solutions help reduce effectively the amounts of short circuit currents by increasing the equivalent system impedance. Transmission line disconnecting and bus splitting tend to decrease the system reliability. However, EGAT has not evaluated this deteriorated reliability. If the levels of reliability indices are not acceptable, EGAT may need to find different approaches. One of the alternative approaches is the installation of High Voltage Direct Current (HVDC) in the system. Nevertheless, the cost of this approach is high. As a result, this thesis mainly presents the reliability evaluation method of the systems with network reconfiguration and HVDC installation. The method is tested in IEEE Reliability Test System 79 and the real electric system in Bangkok and the vicinity areas.en
dc.format.extent1895683 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.157-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยen
dc.subjectระบบไฟฟ้ากำลัง -- ความเชื่อถือได้en
dc.subjectไฟฟ้าแรงสูงen
dc.subjectกระแสไฟฟ้าลัดวงจรen
dc.titleการประเมินความเชื่อถือได้ของระบบไฟฟ้ากำลังที่ติดตั้งอุปกรณ์เอชวีดีซีโดยพิจารณาผลของกระแสลัดวงจรen
dc.title.alternativeReliability evaluation of a power system with HVDC considering short circuit currentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSurachai.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.157-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rongrit_ch.pdf1.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.