Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21075
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรชุลี อาชวอำรุง-
dc.contributor.authorปราณี คูสกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialกรุงเทพมหานคร-
dc.date.accessioned2012-07-21T15:01:16Z-
dc.date.available2012-07-21T15:01:16Z-
dc.date.issued2530-
dc.identifier.isbn9745675253-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21075-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อศึกษาลักษณะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในกรุงเทพมหานครที่จะเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาโดยทั่วไป และจำแนกตามแผนการเรียนสายวิทยาศาสตร์และแผนการเรียนสายศิลปะ ในลักษณะที่เกี่ยวกับข้อมูลส่วนตัว แผนการศึกษาและอาชีพ ภูมิหลังของครอบครัว ความคิดเห็นทางการเมือง สังคม เศรษฐกิจ และแนวโน้มทางการดำเนินชีวิต พร้อมทั้งศึกษาเปรียบเทียบลักษณะดังกล่าวของนักเรียนทั้งสองแผนการเรียน วิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในกรุงเทพมหานครที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2529 ในแผนการเรียนสายวิทยาศาสตร์ และแผนการเรียนสายศิลปะ รวม 378 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบเลือกตอบ เติมคำ และมาตราส่วนประเมินค่ารวม 45 คำถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้คอมพิวเตอร์หาค่าร้อยละ ไคสแควร์ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่าที รายงานผลการวิจัยในรูปความเรียงตาราง แผนภูมิ พร้อมทั้งสรุป อภิปราย และเสนอแนะ ผลการวิจัย จากการวิจัยพบว่า 1. ลักษณะทั้ง 4 ด้านของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในกรุงเทพมหานครสรุปได้ดังนี้ โดยทั่วไปนักเรียนส่วนใหญ่เป็นหญิงอายุ 17 ปี มีผลการเรียนระดับปกติ ปานกลาง ไม่คร่ำเคร่งในการเรียน ชอบเรียนวิชาพลศึกษา ขอบอ่านหนังสือพิมพ์รายวันมีความคิดเห็นว่าการได้ศึกษาในมหาวิทยาลัยมีความหมายมาก สถาบันที่มุ่งหวังศึกษาต่อมากที่สุดคือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาวิชาที่มุ่งหวังศึกษาต่อมากที่สุดคือนิเทศศาสตร์ เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วต้องการทำงานในกรุงเทพมหานคร เมื่อจำแนกตามแผนการเรียน พบว่า นักเรียนแผนการเรียนสายวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่เป็นหญิงอายุ 17 ปี มีผลการเรียนระดับปกติปานกลางไม่คร่ำเคร่งในการเรียน ชอบเรียนวิชาพลศึกษา ชอบอ่านหนังสือพิมพ์รายวัน มีความเห็นว่าการได้ศึกษาในมหาวิทยาลัยมีความหมายมาก สถาบันที่มุ่งหวังศึกษาต่อมากที่สุดคือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาวิชาที่มุ่งหวังต่อ คือ เภสัชศาสตร์ เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วต้องการทำงานในกรุงเทพมหานคร ส่วนนักเรียนแผนการเรียนสายศิลปะส่วนใหญ่เป็นหญิง 17 ปี มีผลการเรียนต่ำกว่าระดับปกติปานกลางไม่คร่ำเคร่งในการเรียน ชอบเรียนวิชาสังคมศึกษา ชอบอ่านหนังสือพิมพ์รายวัน มีความเห็นว่า การได้ศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยมีความหมายมาก สถาบันที่มุ่งหวังต่อมากที่สุดคือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาวิชาที่มุ่งหวังต่อคือ นิเทศศาสตร์ เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วต้องการทำงานในกรุงเทพมหานคร 2. เปรียบเทียบลักษณะทั้ง 4 ด้านของนักเรียน พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ในเรื่องการชอบอ่านหนังสือ ประเภทวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กล่าวคือนักเรียนแผนการเรียนสายวิทยาศาสตร์ชอบอ่านมากกว่านักเรียนแผนการเรียนสายวิทยาศาสตร์ต้องการศึกษาต่อสาขาวิชาเภสัชศาสตร์ ส่วนนักเรียนแผนการเรียนสายศิลปะ ต้องการศึกษาต่อสาขาวิชานิเทศศาสตร์ ผลการวิจัยที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 คือสถานที่ต้องการทำงานเมื่อสำเร็จการศึกษาแล้ว พบว่า นักเรียนทั้งสองแผนการเรียนต้องการทำงานในกรุงเทพมหานครแต่นักเรียนแผนการเรียนสายศิลปะต้องการมากกว่า เสนอแนะ ก. เพื่อประยุกต์ 1. นักเรียนไม่ควรเรียนต่อในมหาวิทยาลัยทั้งหมดทันทีที่จบการศึกษาระดับมัธยมปลาย บิดามารดาควรหาทางให้ประกอบอาชีพก่อนแล้วหาโอกาสศึกษาเพิ่มเติมภายหลัง ครู-อาจารย์ควรแนะแนวอาชีพที่เหมาะสมให้ด้วย 2. ครู-อาจารย์ควรเตรียมการสำหรับให้นักเรียนศึกษาต่อในสายอาชีพระดับวิทยาลัยบ้าง ไม่ควรมุ่งเน้นให้ศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยอย่างเดียว 3. ครู-อาจารย์ควรเปลี่ยนวิธีสอนโดยมุ่งเน้นการค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง ให้มีทักษะในการศึกษาต่อในระบบมหาวิทยาลัยเปิด และการใช้ชีวิตที่ประสบความสำเร็จในมหาวิทยาลัยเปิด เพื่อแก้ปัญหาการมุ่งเข้าศึกษาในระบบมหาวิทยาลัยปิด ข. เพื่อการวิจัยต่อ 1. ควรมีการศึกษาระยาวเกี่ยวกับลักษณะของนักเรียนปีละครั้งเพื่อเป็นพื้นฐานของความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา 2. ควรมีการพัฒนารูปแบบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ เพื่อการเชื่อมโยงระหว่างมัธยมศึกษาและอุดมศึกษา-
dc.description.abstractalternativePurpose of the Study The purpose of the research is to study the characteristics of Matayom Suksa Six students in Bangkok Metropolis entering higher education institutions in general. Subsequently students were classified Arts and Sciences Programs, relating to their personal information, program of study, family professional background, political, social and economical outlooks, and life plans. Moreover, characteristics of the students in both programs were compared. Methodology The samples were 378 Matayom Suksa Six students in Bangkok Metropolis who were studying in the first semester of the academic year 1986 in the Arts and Sciences programs. The instrument used was the questionnaire including as questions in various types: multiple choices, filling the blanks, and rating scales. SPSS was used in fuguring out the percentage, chi-square, standard diviation and t-test. Descriptions, tables and charts were used in reporting the results. Summary, discussions and recommendations were offered. Findings The findings of the study can be summed up as follows: Generally, most of the students were girls, seventeen years of age on the average. They didn't pay attention in the study, liked to study Physical Education and liked to read newspapers. Having an opportunity to attend the university was very meaningful. They aimed at entering Chulalongkorn University and the most popular field for Arts students was Mass Media, and for Science students was Pharmacy. Upon graduation they intended to work in Bangkok. Results of the comparative study among four dimensions of characteristics under study indicated a significant difference at .01 level in reading scientific and technological books. The Science program students had better reading habits than their Arts counterparts. While Science students prefered Pharmacy, Arts students preferred Mass Media. Upon graduation, but Arts students significantly indicated more of such needs at .05 level. Recommendations A. For applications 1. Not all secondary school graduates should directly enter universities. Parants are urged to advise them to work of a while before further education opportunity later on. Teachers should provide students with proper vocational guidance. 2. Teachers should prepare students for further education in vocational colleges, not stressing only universities. 3. Teachers are advised to change teaching methods by emphasizing self-discovery of knowledge as a skill for further education in open university system and alleviate problems caused by influx of students into the closed university system. B. For Further Research 1. Longitudinal study of entering student characteristics should be conducted annually to serve as a basis for the understanding of student body in Higher Education Institutions. 2. Effective Models for linking Secondary Education with Higher Education should be developed.-
dc.format.extent384518 bytes-
dc.format.extent306561 bytes-
dc.format.extent471276 bytes-
dc.format.extent277017 bytes-
dc.format.extent1278387 bytes-
dc.format.extent619966 bytes-
dc.format.extent496794 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา -- ไทย -- สถานภาพทางเศรษฐกิจสังคมen
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา -- ไทย -- ทัศนคติen
dc.subjectการศึกษาขั้นอุดมศึกษา -- ไทยen
dc.titleลักษณะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในกรุงเทพมหานคร ที่จะเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษาen
dc.title.alternativeCharacteristics of mathayom suksa six students in Bangkok Metropolis entering higher education institutionsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineอุดมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPornchulee.A@Chul.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pranee_Kh_front.pdf375.51 kBAdobe PDFView/Open
Pranee_Kh_ch1.pdf299.38 kBAdobe PDFView/Open
Pranee_Kh_ch2.pdf460.23 kBAdobe PDFView/Open
Pranee_Kh_ch3.pdf270.52 kBAdobe PDFView/Open
Pranee_Kh_ch4.pdf1.25 MBAdobe PDFView/Open
Pranee_Kh_ch5.pdf605.44 kBAdobe PDFView/Open
Pranee_Kh_back.pdf485.15 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.