Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21217
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจาระไน แกลโกศล-
dc.contributor.authorพิมพ์จันทร์ ใจวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialสมุทรสาคร-
dc.date.accessioned2012-07-28T16:07:28Z-
dc.date.available2012-07-28T16:07:28Z-
dc.date.issued2527-
dc.identifier.isbn9745631388-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21217-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527en
dc.description.abstractผู้วิจัยได้ศึกษาเรื่องปัจจัยของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมที่มีต่อการยอมรับวิทยาการแผนใหม่ในการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลของสมาชิกสหกรณ์นิคม ตำบนโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร โดยศึกษาเจ้าหน้าที่ส่งเสริมในแง่ที่เป็นสื่อบุคคลประเภทหนึ่ง ซึ่งมีบทบาทและอิทธิพลต่อการยอมรับนวกรรม วัตถุประสงค์ในการวิจัยมี 2 ประการคือ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยต่างๆ ในตัวเจ้าหน้าที่ส่งเสริม คือความพยามของเจ้าหน้าที่ส่งเสริม ความหน้าเชื่อถือของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมคุณลักษณะที่เหมือนกันระหว่างเจ้าหน้าที่ส่งเสริมกับสมาชิกสหกรณ์นิคม และการยอมรับให้สมาชิกสหกรณ์นิคมมีส่วนร่วมในการวางแผนการเปลี่ยนแปลง ที่ทำให้เกิดการยอมรับวิทยาการแผนใหม่ในการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลของสมาชิกสหกรณ์นิคม ตำบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร 2) เพื่อทราบถึงระดับความสัมพันธ์ของปัจจัยในตัวเจ้าหน้าที่ส่งเสริม อันได้แก่ความพยายาม 2) ความน่าเชื่อถือของเจ้าหน้าที่ส่งเสริม คือความเป็นผู้เชี่ยวชาญและความน่าไว้วางใจ มีความสัมพันธ์กับการยอมรับวิทยาการแผนใหม่ในการเพาะเลี้ยงก้งทะเลของสมาชิกสหกรณ์นิคม ตำบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร 3) คุณลักษณะที่เหมือนกันระหว่างเจ้าหน้าที่ส่งเสริมกับสมาชิกสหกรณ์มีความสัมพันธ์กับการยอมรับวิทยาการแผนใหม่ในการเพาะเลี้ยงก้งทะเลของสมาชิกสหกรณ์นิคม ตำบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร 4) การยอมให้สมาชิกสหกรณ์นิคมมีส่วนร่วมในการวางแผนการเปลี่ยนแปลงมีความสัมพันธ์กับการยอมรับวิทยาการแผนใหม่ในการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลของสมาชิกสหกรณ์นิคม ตำบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาครนอกจากนั้น จากการวิเคราะห์การถดถอยพหูคูณ พบว่าความน่าเชื่อถือของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมเป็นตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับวิทยาการแผนใหม่ในการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลของสมาชิกสหกรณ์นิคม ตำบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาครได้มากที่สุด รองลงมาเป็นตัวแปรเกี่ยวกับการยอมให้สมาชิกสหกรณ์นิคมมีส่วนร่วมในการวางแผนการเปลี่ยนแปลง ความพยายามของเจ้าหน้าที่ส่งเสริม และคุณลักษณะที่เหมือนกันระหว่างเจ้าหน้าที่ส่งเสริมกับสมาชิกสหกรณ์ตามลำดับ ผลการวิจัยครั้งนี้อาจทำให้กล่าวได้ว่า เจ้าหน้าที่ส่งเสริมเป็นสื่อบุคคลที่สามารถชักจูงใจสมาชิกสหกรณ์นิคมให้ยอมรับวิทยาการแผนใหม่ได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้เพราะในทัศนะของสมาชิกสหกรณ์นิคม ตำบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร มีความเห็นว่า เจ้าหน้าที่ส่งเสริมเป็นแหล่งสารที่มีความน่าเชื่อถือและเป็นผู้ที่น่าไว้วางใจ จึงทำให้การติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคลเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ-
dc.description.abstractalternativeThis study focused on effective factors in personal media which is the role and characteristics of the change agent effecting on the adoption of an intensive shrimp culture among the members of Kokham District Community Cooperative, Samut Sakhon Province. The major purposes of this study are 1) to study the persuasive per of change agent factors namely; effort, credibility homophily, and group participation on the adoption of the innovation for shrimp culture among the members. 2) to measure the persuasive ratio correlated to the adoption of an innovation upon the members. This study aims at testing the following hypotheses. 1. The change agent's characteristics namely; effort, credibility, homophily, and group participation are positively correlated to the adoption of the innovation among the members. 2. Credibility plays the most important role upon the adoption of the innovation among the members. The research design is one shot-descriptive study. The target group which consisted of 81 members of the Kokham District Community Cooperative, Samut Sakhon Province were interviewed by structured questionnaires. Pearson's Product Moment Correlation Coefficient was used to analyze the hypotheses and Multiple Regression Analysis was used to rank the importance of all influential factors on adopting of the innovation. The result can be concluded as followed: 1) The change agent's characteristics: effort, credibility homophily, and group participation are positively correlated to the adoption of the innovation for shrimp culture. 2) Credibility of the change agent is the most influential factor effecting on the members' adoption of the project. The other attributes have also been proved to have different degrees of influence on the adoption and can be ranked as followed accordingly. Credibility, group participation, effort, and homophily. It is also proved that interpersonal media by means of the change agent is very effective and suitable for the project since the members of the Kokham District Community Cooperative, Samut Sakhon Province accept that the source, which in this case is the change agent, is expert and trustworthy.-
dc.format.extent360501 bytes-
dc.format.extent642549 bytes-
dc.format.extent434520 bytes-
dc.format.extent278547 bytes-
dc.format.extent337512 bytes-
dc.format.extent324676 bytes-
dc.format.extent1087454 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสหกรณ์นิคม ตำบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาครen
dc.subjectกุ้งen
dc.subjectเกษตรกรรม -- การประชาสัมพันธ์en
dc.titleคุณลักษณะของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมที่มีความสัมพันธ์ ต่อการยอมรับวิทยาการแผนใหม่ในการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล ของสมาชิกสหกรณ์นิคม ตำบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาครen
dc.title.alternativeThe attributes of change agent on the adoption of the shrimp culture among the members of the Kokham district community cooperative, Samut Sakhon provinceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไมีมีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pimchan_Ch_front.pdf352.05 kBAdobe PDFView/Open
Pimchan_Ch_ch1.pdf627.49 kBAdobe PDFView/Open
Pimchan_Ch_ch2.pdf424.34 kBAdobe PDFView/Open
Pimchan_Ch_ch3.pdf272.02 kBAdobe PDFView/Open
Pimchan_Ch_ch4.pdf329.6 kBAdobe PDFView/Open
Pimchan_Ch_ch5.pdf317.07 kBAdobe PDFView/Open
Pimchan_Ch_back.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.