Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21282
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิรพัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์-
dc.contributor.authorยุทธการ ฟักนาคิน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-08-02T10:03:54Z-
dc.date.available2012-08-02T10:03:54Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21282-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์(วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงคุณภาพของการบริการและเป็นข้อกำหนดเพื่อจัดตั้งสถานตรวจสภาพรถเอกชนขึ้นใหม่โดยใช้การแปรหน้าที่เชิงคุณภาพ การวิจัยนี้เริ่มต้นจากการออกแบบสำรวจเพื่อสำรวจความพึงพอใจของลูกค้าและวัดระดับความสำคัญของการบริการในแต่ละประเภทกิจกรรมการบริการ นอกจากนั้นต้องมีการเปรียบเทียบความพึงพอใจของลูกค้าเทียบกับคู่แข่งด้วย ค่าความสำคัญและความพึงพอใจที่ได้จากการสำรวจนี้จะเปลี่ยนเป็นปัจจัยของการแปรหน้าที่เชิงคุณภาพหรือ QFD แบบสี่ช่วง ได้แก่ (1) การวางแผนผลิตภัณฑ์การบริการ (2) การออกแบบผลิตภัณฑ์การบริการ (3) การวางแผนกระบวนการบริการ และ (4) การวางแผนควบคุมกระบวนการบริการ ผลของการทำ QFD แบบสี่ช่วงนี้จะทำให้เกิดประเภทของการบริการที่เกิดขึ้นใหม่และกระบวนการบริการเดิมที่ต้องไปรับการปรับปรุงซึ่งผลจากการดำเนินงานปรับปรุงสถานตรวจสอบสภาพรถเอกชนที่เป็นกรณีศึกษาแห่งนี้ พบว่า ความพึงพอใจของลูกค้าเพิ่มมากขึ้นเกือบทุกกิจกรรมการบริการที่ได้มีการสำรวจก่อนการปรับปรุงโดยเฉพาะเรื่องความรวดเร็วในการให้บริการโดยมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ 7.04 (คะแนนความพึงพอใจเต็ม 9) ซึ่งมีเปอร์เซ็นต์การปรับปรุงเพิ่มขึ้นจากการบริการก่อนการปรับปรุง 23.94% แสดงให้เห็นว่าลูกค้ามีความพึงพอใจในเรื่องของความเร็วในการให้บริการที่สูงขึ้น และนอกจากนี้ยังมีความพึงพอใจด้านการสร้างโปรแกรมบันทึกและค้นหาการเข้ารับบริการ โดยมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ 7.13 และมีเปอร์เซ็นต์การปรับปรุงเพิ่มขึ้นจากการบริการก่อนการปรับปรุง 11.94%en
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to improve service quality and to set To-be-improve new service criteria in a car service center using Quality Function Deployment Technique. This research starts from issued questionnaire for measuring satisfaction and important level by the customers. The surveys of service quality within Car Service Center under study will be benchmarking with other Car Service Centers. The results of importance and satisfaction from surveying are translated into input factors of four-phase Quality Function Deployment. The results of four-phase Quality Function Deployment represent new service characteristic and service characteristic in attribute priority orders for further improvement. After the car service center has been improved, the result has shown an increasing trend of satisfaction of near every service activities, especially service time and service record program. The satisfaction score of service time improved to 7.04 out of 9.0 or by 23.94% and the satisfaction score of record program improved to 7.13 out of 9.0 or by 11.94%en
dc.format.extent3417521 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการปรับปรุงคุณภาพการบริการโดยใช้หลักการแปรหน้าที่เชิงคุณภาพen
dc.title.alternativeService quality improvement in car service center using quality function deployment techniqueen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorJeerapat.N@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
yutthakarn_ph.pdf3.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.