Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21470
Title: Electre de Jean Giraudoux et Les Mouches de Jean-Paul Sartre : etude comparative
Other Titles: การศึกษาเปรียบเทียบบทละครเรื่อง "เอเลกตร์" ของ ชอง ชิโรดูซ์ และ เรื่อง "เล มูซส์" ของ ชอง ปอล ซารตร์
Authors: Malee Wuwanich
Advisors: Anongnart Takungvidh
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Issue Date: 1986
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Pendant la période bouleversée entre les deux guerres mondiales, il apparaît que la situation difficile est favorable au retour de la tragedie grecque dont l ‘histoire met l’ accent sur le deésespoir, les angoisses et les doutes des gens. De toute façon, les nouvelles trageédies ne sont point jumelles de celles des dramaturges grecs. Certes, malgré que 1' ELECTRE de Giraudoux et LES MOUCHES de Sartre demeurent l'histoire du ma¬tricide, tous les deux auteurs ne suivent pas fidélement les autres prédécesseurs, dÛ a une conception différente de la tragédie et cette différence de conception se reflète dans 1'intrigue de leurs pièces, dans le sens qu'ils en donnant et dans 1'élaborati des caractfères. AU surplus, on découvre que les concepts divergeants que Giraudoux et Sartre ont de leur pièce ne résultent que tous de leur philosophie differente: alors que celui-ci se concentre sur la primauté de 1' existence, celui-là sur 1'essence. Grâce à la différence survenue dans leurs pièces, on n'arrive done pas à refuser ces critiques: "Ils sont faux frères".
Other Abstract: ในช่วงทีวุ่นวายสับสนระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ปรากฏว่าสภาพการณ์ที่อยากลำบากในช่วงนี้จะเอื้ออำนวยต่อการกลับมาของบทละครโศกนาฏกรรม ซึ่งมีเรื่องราวเน้นถึงความผิดหวัง ความวิตกกังวล และความสงสัยของผู้คน แต่ถึงอย่างไรก็ตาม บทละครโศกนาฏกรรมใหม่นี้ก็ไม่ใช้ฝาแฝดของนักแต่งบทละครกรีกเดิม แน่นอน แม้ว่าเรื่องราวของบทละครเรื่องเอเลกตร์ ของชิโรคูซ์เลมูซส์ ของซารตร์ ยังคงเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับการฆ่าแม่ แต่เราจะพบว่าทั้งชิโรคูซ์และชาติก็มิได้ดำเนินรอยตามผู้นำก่อนๆ เนื่องจากความคิดที่แตกต่างกันที่มีต่อบทละครโศกนาฏกรรมและความแตกต่างทางความคิดนี้จะสะท้อนให้เห็นจากการวางโครงเรื่อง ความหมายที่ให้ ตลอดจนการสร้างตัวละครต่างๆ ยิ่งไปกว่านั้น เราจะพบว่าความคิดที่แตกต่างซึ่งซิโรคูซ์และซารตร์มีต่อบทละครของเขานั้น ล้วนมีสาเหตุมาจากความคิดทางปรัชญาที่แตกต่างกันกล่าวคือซารตร์มุ่งความสนใจไปสู่สภาวะ "การมีอยู่" ในขณะที่ซิโรคูซ์ให้ความสนใจกับ "สารัตถะ" เนื่องจากความแตกต่างที่พบในบทละครทั้งสองเรื่องนี้ เราจึงไม่อาจปฏิเสธคำพูดของนักวิจารณ์บางท่านที่ว่า แท้จริงแล้ว ซารตร์ ก็คือ "พี่น้องปลอม" ของซิโรคูซ์
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 1986
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: French
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21470
ISBN: 9745667896
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
malee_wu_front.pdf456.69 kBAdobe PDFView/Open
malee_wu_ch1.pdf1.28 MBAdobe PDFView/Open
malee_wu_ch2.pdf1.36 MBAdobe PDFView/Open
malee_wu_ch3.pdf931.79 kBAdobe PDFView/Open
malee_wu_back.pdf389.02 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.