Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21827
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธำรง เปรมปรีดิ์-
dc.contributor.authorยิ่งยศ น้ำเงิน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-08-28T06:29:33Z-
dc.date.available2012-08-28T06:29:33Z-
dc.date.issued2529-
dc.identifier.isbn9745668125-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21827-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529en
dc.description.abstractการทำนากุ้งน้ำเค็ม(กุ้งแซบ๊วย)ในปัจจุบัน ชาวประมงได้ใช้เครื่องสูบน้ำ แบบดันน้ำไหลตามแนวแกน สำหรับดันน้ำทะเล ซึ่งมีลูกกุ้งปะปนอยู่เข้าสู่นากุ้ง แต่ใบพัดของเครื่องสูบน้ำมีมุมใบพัดไม่เหมาะสมกับจำนวนรอบที่ใช้งาน และน้ำที่ไหลออกจากท่อส่งน้ำสู่รางส่งน้ำเป็นการไหลแบบขยายตัวทันทีทันใด จึงทำให้เครื่องสูบน้ำมีประสิทธิภาพต่ำ การศึกษาถึงประสิทธิภาพของเครื่องสูบน้ำ เพื่อให้รูปแบบของมุมใบพัดที่ให้ประสิทธิภาพดีกว่า ทำโดยการศึกษาแบบจำลองใบพัด ซึ่งย่อด้วยมาตรส่วน 10:3 ตามกฎของความคล้ายคลึงกัน ซึ่งมีขั้นตอนในการดำเนินการวิจัยดังนี้ ขั้นแรกได้ทำการทดสอบสูบน้ำที่เฮด (Head) ค่าตัวๆ โดยในแบบจำลองใบพัดซึ่งย่อมาตราส่วนมาจากใบพัดของเดิมที่ใช้ในนากุ้ง แล้วทำการวัดค่าเฮด (Head) อัตราการไหล และกำลังงานที่เพลงนำผลที่ได้นี้ไปคำนวณออกแบบมุมใบพัดใหม่ แล้วก็ทำการออกแบบใบพัด 3 แบบ ซึ่งมีค่ามุมใบพัดแตกต่างกัน และใบพัดแต่ละแบบทำโดยโลหะแตกต่างกัน 2 ชนิด คือ อลูมิเนียม และ ทองเหลือง ขั้นต่อมาก็นำเอาใบพัดแต่ละแบบมาทำการทดลองสูบน้ำที่เฮด (Head) ค่าต่างๆ แล้วทำการวัดค่า (Head) อัตราการไหลและกำลังงานที่เพลานำผลที่ได้มาคำนวณออกแบบมุมใบพัดใหม่ แล้วทำการออกแบบใบพัด 3 แบบ ซึ่งมีค่ามุมใบพัดแตกต่างกัน และใบพัดแต่ละแบบทำโดยโลหะแตกต่างกัน 2 ชนิด คือ อลูมิเนียม และ ทองเหลือง ขั้นต่อมาก็นำเอาใบพัดแต่ละแบบมาทำการทดลองสูบน้ำที่เฮด (Head) ค่าต่างๆ แล้วทำการวัดค่า (Head) อัตราการไหลและ กำลังงานที่เพลา แล้วนำผลที่ได้ไปคำนวณหาประสิทธิภาพของเครื่องสูบน้ำ จากผลการทดลองครั้งนี้ พบว่า ในช่วงเฮดระหว่าง 0 ถึง 1 เมตร ซึ่งเป็นช่วงเฮดที่ใช้สูบน้ำเข้านากุ้งนั้น ใบพัดแบบที่ 3 (ดูรูปที่ ข.1) มีประสิทธิภาพดีที่สุด-
dc.description.abstractalternativeIn Thailand, most of shrimp farmer use axial flow push pump for pumping salt water and.-young shrimps to shrimp farms. The efficiency of push pumps are found to be low (12%). Because the blade angle of impeller is not suitsbleset for the normal running speed (1000-1200 rpm) and the flow from the intake pipe to the flume is through the sudden expansion flow. The energy losses due to these, result in lower pump efficiency. In this study to achieve higher pump efficiency through a proper blade angle is to investigate through model tests. The scale ratio of the physical model is 10.3 Impeller model, which has the same blade angle as the prototype, is first tested for the analysis of the normal- pump efficiency. Two type of impellers (brass and aluminium) with different blade angle were designed and tested. Each impeller was tested and results were compared. From the result it was found that at a range of normal operating head in shrimp farm higher efficiency can be obtained. The type three impeller blade gave best efficiency of 18.35%. The overall increase in efficiency is resulted from improvement of the impeller blade through design and the improve intake to the flume. The lower loss of energy at an improved flume was not investigated.-
dc.format.extent520543 bytes-
dc.format.extent342962 bytes-
dc.format.extent735829 bytes-
dc.format.extent464373 bytes-
dc.format.extent411057 bytes-
dc.format.extent256630 bytes-
dc.format.extent1078739 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการปรับปรุงเครื่องสูบน้ำแบบดันน้ำไหลตามแนวแกนสำหรับนากุ้งen
dc.title.alternativeThe improvement of axial flow push pump for shrimp farmen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
yingyos_na_front.pdf508.34 kBAdobe PDFView/Open
yingyos_na_ch1.pdf334.92 kBAdobe PDFView/Open
yingyos_na_ch2.pdf718.58 kBAdobe PDFView/Open
yingyos_na_ch3.pdf453.49 kBAdobe PDFView/Open
yingyos_na_ch4.pdf401.42 kBAdobe PDFView/Open
yingyos_na_ch5.pdf250.62 kBAdobe PDFView/Open
yingyos_na_back.pdf1.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.