Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22114
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประคอง กรรณสูต-
dc.contributor.authorยรรยงค์ ยรรยงเมธ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-09-15T03:20:29Z-
dc.date.available2012-09-15T03:20:29Z-
dc.date.issued2519-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22114-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2519en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์แบบสอบคัดเลือกนักเรียนฝึกหัดครูระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา ของวิทยาลัยครูนครสวรรค์ ประจำปีการศึกษา 2518 สุ่มตัวอย่างกระดาษคำตอบจำนวน 370 ฉบับจากจำนวนผู้เข้าสอบทั้งหมด 4,174 คน เพื่อหาระดับความยาก อำนาจจำแนก และสัมประสิทธิ์แห่งความเที่ยงสุ่มตัวอย่างนักเรียนที่ผ่านการสอบคัดเลือกได้จำนวน 200 คน เพื่อคำนวณสัมประสิทธิ์แห่งความตรงเชิงพยากรณ์ของแบบสอบคัดเลือก ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. แบบสอบคัดเลือกแต่ละวิชา มีข้อสอบที่มีระดับความยากและอำนาจจำแนกดีตามเกณฑ์เรียงลำดับดังนี้ วิชาความรู้ทั่วไป สังคมศึกษา วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย และคณิตศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 84, 78, 76, 68, 66 และ 60 ตามลำดับ 2. แบบสอบคัดเลือกวิชา ความรู้ทั่วไป สังคมศึกษา วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย และคณิตศาสตร์ มีสัมประสิทธิ์แห่งความเที่ยงเท่ากับ .7419, .7412, .7126, .6522, .6211 และ .5973 ตามลำดับ 3. สัมประสิทธิ์แห่งความตรงเชิงพยากรณ์เมื่อใช้แบบสอบทั้ง 6 วิชา คือ ความรู้ทั่วไป คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษาร่วมกันพยากรณ์เกณฑ์ มีค่า .7084 มีนัยสำคัญที่ระดับ .05 สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเมื่อใช้แบบสอบ 5 วิชา คือ ความรู้ทั่วไป คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และวิทยาศาสตร์ ร่วมกันพยากรณ์เกณฑ์ มีค่า .7062 ซึ่งไม่แตกต่างกับเมื่อใช้แบบสอบทั้ง 6 วิชาร่วมกันพยากรณ์ ที่ระดับความมีนัยสำคัญ .05 ดังนั้นเมื่อตัดแบบสอบวิชาสังคมศึกษาออกจากแบบสอบชุดนี้แล้วก็ยังมีประสิทธิ์ภาพในการพยากรณ์ไม่แตกต่างกันจากการใช้แบบสอบคัดเลือกทั้ง 6 วิชา 4. สมการถดถอยพหุคูณที่ใช้พยากรณ์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (y) ของนักเรียนคือ z[subscript y] = .0772 z[subscript 1] + .2877 z[subscript 2]+.2285 z[subscript 3]+.3002z[subscript 4]+.1515 z[subscript 5]+.0696 z[subscript 6]-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to analyse the Nakornsawan Teachers’ College entrance examination test at the f Certificate of Education level for the academic .year 1975. The research aims at finding out the level of difficulty of the test, the power of discrimination and the reliability coefficient from a random sample of 370 candidates drawn from 4,174 total candidates. Another aim was to find out the predictive validity coefficient of randomly selected 200 first students of Nakornsawan Teachers’ College. The findings were as follows: 1. The qualified, test items of general knowledge, social studies, sciences, English, Thai and mathematics were 84, 78, 76, 68, 66 and 60 percent respectively. 2. The reliability coefficient of general knowledge, Social studies, sciences, English, Thai and mathematics were.7419, .7412, .7126, .6522, .6211 and .5973 respectively. 3. The predictive validity coefficient of the six tests was .7084 at the significant level of o 05 and the multiple correlation coefficient for the five tests of general knowledge, mathematics; Thai, English and sciences, excluding social studies, jointly predicted was .7062 at the significant level of'.05. As the two coefficients show similarity at the level of .05, the social studies test could be cancelled from the entrance examination without affecting the efficiency of the criterion prediction as when the whole subtests were used. 4. The Multiple regression equation used for predicting grade point average (y) was z[subscript y] = .0772 z[subscript 1] + .2877 z[subscript 2]+.2285 z[subscript 3]+.3002z[subscript 4]+.1515 z[subscript 5]+.0696 z[subscript 6]-
dc.format.extent470070 bytes-
dc.format.extent533526 bytes-
dc.format.extent1071071 bytes-
dc.format.extent425608 bytes-
dc.format.extent2079136 bytes-
dc.format.extent738401 bytes-
dc.format.extent686435 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการวิเคราะห์แบบสอบคัดเลือกนักเรียนฝึกหัดครู ระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา ของวิทยาลัยครูนครสวรรค์en
dc.title.alternativeAn analysis of Nakornsawan Teachers' College entrance examination test at the certificate of edcuation levelen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
yanyong_ya_front.pdf459.05 kBAdobe PDFView/Open
yanyong_ya_ch1.pdf521.02 kBAdobe PDFView/Open
yanyong_ya_ch2.pdf1.05 MBAdobe PDFView/Open
yanyong_ya_ch3.pdf415.63 kBAdobe PDFView/Open
yanyong_ya_ch4.pdf2.03 MBAdobe PDFView/Open
yanyong_ya_ch5.pdf721.09 kBAdobe PDFView/Open
yanyong_ya_back.pdf670.35 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.