Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22239
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพูนสุข บุญย์สวัสดิ์-
dc.contributor.authorสมควร ทัศนะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-09-28T10:21:45Z-
dc.date.available2012-09-28T10:21:45Z-
dc.date.issued2529-
dc.identifier.isbn9745665401-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22239-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มุ่งศึกษารูปแบบการเรียงพยัญชนะไทยที่ง่ายต่อการฝึกเขียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ผู้วิจัยได้ศึกษารูปแบบการเรียงพยัญชนะแล้วนำมาจัดเป็นกลุ่มเป็นพวกย่อยๆ โดยคำนึงถึงที่ตั้งทิศทางการเขียนของหัวพยัญชนะและความคล้ายคลึงของรูปร่างแล้วสร้างเป็นแบบทดสอบเพื่อนำไปทดสอบช่วงเวลาในการเขียนพยัญชนะแต่ละตัวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาอำเภอบางปะหันจำนวน 100 คน เป็นชายและหญิงจำนวนละเท่าๆกันมีอายุเฉลี่ย 7.2 ปี นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย(Mean) ของเวลาที่ได้จากการเขียนพยัญชนะของนักเรียนและวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance) ชนิดที่มีคะแนน 1 จำนวน ใน 1 รายการ แต่มีประชากรซ้ำกันทุกรายการเพื่อทดสอบความมีนัยสำคัญของความแตกต่างของเวลาที่นักเรียนใช้เขียนพยัญชนะเป็นกลุ่มและเป็นพวกของพยัญชนะที่ระดับความมีนัยสำคัญ .01 แล้วทดสอบความแตกต่างที่มีนัยสำคัญรายคู่ด้วยวิธีตูกี (Tukey) ที่ระดับความมีนัยสำคัญ .01 ผลการวิจัย1.ช่วงเวลาในการเขียนพยัญชนะไทยแต่ละกลุ่มของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 หมายความว่าพยัญชนะแต่ละกลุ่มมีความยากง่ายต่อการเขียนของนักเรียนต่างกัน 2. ช่วงเวลาในการเขียนพยัญชนะแต่ละพวกในกลุ่มที่มีหัวกลมวนซ้ายแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 หมายความว่าพยัญชนะแต่ละพวกในกลุ่มที่มีหัวกลมวนซ้ายมีความยากง่ายต่อการเขียนของนักเรียนต่างกัน แต่พวกที่อยู่ในกลุ่มที่มีหัวกลมวนขวาไม่แตกต่างกันที่ระดับความมีนัยสำคัญ .01 หมายความว่าพยัญชนะแต่ละพวกในกลุ่มที่มีหัวกลมวนขวามีความยากง่ายใกล้เคียงกัน 3. รูปแบบการเรียงพยัญชนะไทยที่ง่ายต่อการฝึกเขียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ตามตารางที่นำเสนอ
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the arrangement form of Thai alphabets simple for writing practices of Prathom Suksa one students. Having categorized the alphabets into groups and subgroups according to the positions of the head, and similarities to other alphabets, the researcher constructed tests in order to evaluate the speed for writing each alphabet. The population were 100 pupils from the schools under the jurisdiction of the office of Bangpahun district Primary Education, with an equal number of boys and girls and the ever age of 7.2 years. In collecting and analyzing the data, the mean of the time limit in writing was calculated. The analysis of variance of one observation per cell design repeated sample and the Tukey method for testing significance of mean differences of the time were utilized. Result 1. The different time of writing Thai alphabets in each group was statistically significant at the level .01. The difficulty in writing was different in each group. 2. The different time of writing Thai alphabets in each sub-group of the clockwise circle alphabets head was not significantly at the level .01. The difficulty in writing was not different in each sub-group of clockwise circle alphabets head. However, there were significant different time of writing in the sub-group of the counter clockwise circle alphabets head. The difficulty in writing was different in each sub-group of the counter clockwise circle alphabets head. 3. The arrangement of Thai alphabets simple for writing practices of Prathom Suksa One students was as fellow:
dc.format.extent421397 bytes-
dc.format.extent696917 bytes-
dc.format.extent1193547 bytes-
dc.format.extent478170 bytes-
dc.format.extent483344 bytes-
dc.format.extent503729 bytes-
dc.format.extent1064672 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเด็ก -- การเขียน
dc.subjectภาษาไทย -- ตัวอักษร
dc.subjectการเขียน -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)
dc.titleการศึกษารูปแบบการเรียงพยัญชนะไทยที่ง่ายต่อการฝึกเขียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1en
dc.title.alternativeA study of arrangement form of Thai alphabets simple for writing practices of prathom suksa one studenten
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineประถมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somkhuan_Th_front.pdf411.52 kBAdobe PDFView/Open
Somkhuan_Th_ch1.pdf680.58 kBAdobe PDFView/Open
Somkhuan_Th_ch2.pdf1.17 MBAdobe PDFView/Open
Somkhuan_Th_ch3.pdf466.96 kBAdobe PDFView/Open
Somkhuan_Th_ch4.pdf472.02 kBAdobe PDFView/Open
Somkhuan_Th_ch5.pdf491.92 kBAdobe PDFView/Open
Somkhuan_Th_back.pdf1.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.