Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22443
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภวรรณ ตันตยานนท์-
dc.contributor.authorสุภาภรณ์ ตันจ้อย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-10-06T07:27:32Z-
dc.date.available2012-10-06T07:27:32Z-
dc.date.issued2529-
dc.identifier.isbn9745669695-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22443-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529en
dc.description.abstractตัวอย่าง พี วี ซี จากอิมพีเรียล เคมิกัล อินดัสทรี, ประเทศออสเตรเลีย (ไอ ซี ไอ 1, ไอ ซี ไอ 2) และบริษัทไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ์, ประเทศไทย (ที พี 1, ที พี 2 และ ที พี 3) ได้จำแนกด้วยวิธีการหาความหนืดของสารละลายเจือจางซึ่งทำให้สามารถหาค่าองศาของโพลิเมอไรซันของตัวอย่าง พี วี ซี ได้จากการคำนวณ เท่ากับ 1,024, 1,888, 1,072, 1,408 และ 1,920 สำหรับ พี วี ซี-ไอ ซี ไอ 1, พี วี ซี-ไอ ซี ไอ 2, พี วี ซี-ที พี 1, พี วี ซี-ที พี 2 และ พี วี ซี-ที พี 3 ตามลำดับ ในงานวิจัยนี้ เครื่องมือพิเศษได้ออกแบบขึ้นมาสำหรับตรวจวัดไฮโดรเจนคลอไรด์ที่ให้ออกมาจากปฏิกิริยา โดยอาศัยเครื่องมือที่ใช้วัดการนำไฟฟ้า ไฮโดรเจนคลอไรด์ที่เกิดขึ้น ปรากฏว่า ได้จากการสลายตัวของ พี วี ซี เนื่องจากแสง พบว่า ปริมาณไฮโดรเจนคลอไรด์ที่ได้ลดลง เมื่อองศาของโพลิเมอไรเซซันเพิ่มขึ้นเมื่อความเข้มข้นของ พี วี ซี เพิ่มขึ้น สารเติมแต่งที่เติมลงไปจะช่วยลดไฮโดรเจนคลอไรด์ที่เกิดขึ้น การเปลี่ยนสีระหว่างการสลายตัวของ พี วี ซี เนื่องจากแสง สัมพันธ์กันกับการเกิดพันธะคู่แบบคอนจูเกตขึ้นในโซ่โพลิเมอร์โดยวิธีทางสเปกโตรสโคปีในช่วงอุลตราไวโอเลต เมื่อสารละลาย พี วี ซี สลายตัวเนื่องจากแสงในบรรยากาศของออกซิเจนสารที่สลายตัวจะแสดงแถบการดูดกลืนใกล้กับช่วง 1,700 เซนติเมตร⁻¹ ปรากฏการณ์นี้แสดงว่า เมื่อมีออกซิเจนอยู่จะเกิดโครงสร้างของคาร์บอนิลในโซ่โพลิเมอร์ ผลการศึกษานี้เปรียบเทียบกับผลงานอื่นๆ แสดงให้เห็นว่า แนวโน้มของการสลายตัว เนื่องจากแสงของ พี วี ซี ในรูปของแข็งเหมือนกับในสารละลาย ดังนั้น กลไกลสำหรับการสลาย ตัวของพี วี ซี ในสารละลายน่าจะเหมือนกับการสลายตัวของพี วี ซี ฟิล์ม หรื พี วี ซี ที่เป็นของ แข็ง ซึ่งเป็นปฏิกิริยาเกิดผ่านขั้นเริ่มต้นซึ่งสารเจือปนในพี วี ซี จะเป็นตัวริเริ่ม โมเลกุลแรก ของไฮโดรเจนคลอไรด์ที่ให้ออกมาจะช่วยให้ไฮโดรเจนคลอไรด์โมเลกุลอื่นหลุดออกง่ายขึ้น-
dc.description.abstractalternativePVC samples from Imperial Chemical Industries, Australia (ICI 1, ICI 2) and Thai Plastic & Chemical Co.Ltd., Thailand (TP 1, TP 2, and TP 3) were characterized by their dilute solution viscosities . The degrees of polymerization were calculated to be 1,024; 1,888; 1,072; 1,408 and 1,920 for PVC-ICI 1, PVC-ICI 2, PVC-TP 1, PVC-TP 2 and PVC-TP 3 respectively. In this research work, a specific apparatus was designed so that the hydrogen chloride, produced from the reaction, could concurrently detected conductometrically. The formation of hydrogen chloride was proved to evolve from the photodegradation of PVC. It has been found that the amount of hydrogen chloride produced decreases with increasing degree of polymerization but increases with higher PVC concentration. In the presence of intentionally added additives, the hydrogen chloride formation is suppressed. The discolouration during the photodehydrochlorination of PVC is associated with the formation of conjugated double bonds within the polymer chain as revealed by ultraviolet spectroscopy. When the PVC solution was photodegraded under an oxygen atmosphere, the degraded material exhibited the absorption bands near 1,700 cm⁻¹ This suggests that in the presence of oxygen, carbonyl groups are Generated in the polymer chain. Comparison of the results from this study with other works reveal that the trends of photodegradation of PVC both in solid form and in solution are similar. Consequently, the mechanism for the photodegradation of PVC in solution presumably similar to the photodegradation of PVC film solid PVC. That is the reaction occurs via the initiation step in which the impurities in the PVC serves as an initiator. The first molecule of hydrogen chloride produced then facilitate further elimination of another hydrogen chloride molecule.-
dc.format.extent644052 bytes-
dc.format.extent469660 bytes-
dc.format.extent957181 bytes-
dc.format.extent1115965 bytes-
dc.format.extent258751 bytes-
dc.format.extent380200 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการสลายตัวของโพลิ (ไวนิล คลอไรด์) ในสารละลาย เนื่องจากแสงen
dc.title.alternativePhotodegradation of poly (vinyl chloride) in solutionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเคมีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supaporn_Ta_front.pdf628.96 kBAdobe PDFView/Open
Supaporn_Ta_ch1.pdf458.65 kBAdobe PDFView/Open
Supaporn_Ta_ch2.pdf934.75 kBAdobe PDFView/Open
Supaporn_Ta_ch3.pdf1.09 MBAdobe PDFView/Open
Supaporn_Ta_ch4.pdf252.69 kBAdobe PDFView/Open
Supaporn_Ta_back.pdf371.29 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.