Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22635
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชัชชัย โกมารทัต | - |
dc.contributor.author | อัญชลี กิจจานุวัฒน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-10-12T16:56:02Z | - |
dc.date.available | 2012-10-12T16:56:02Z | - |
dc.date.issued | 2528 | - |
dc.identifier.isbn | 9745635901 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22635 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสาเหตุของปัญหาและแนวทางการป้องกันปัญหาการก่อการทะเลาะวิวาทของนักเรียนในการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียนของกรมพลศึกษา โดยสุ่มตัวอย่างประชากรอย่างเจาะจง จำนวน 180 คน แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือกลุ่มนักเรียน กลุ่มผู้รับผิดชอบการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียนของสถานศึกษา และกลุ่มเจ้าหน้าที่จัดดำเนินการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียน 57 ชุด กลุ่มเจ้าหน้าที่จัดดำเนินการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียนของกรมพลศึกษา 54 ชุด และกุล่มเจ้าหน้าที่ดำเนินการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียนของกรมพลศึกษา 54 ชุด รวมได้รับข้อมูล 104 ชุด คิดเป็นร้อยละ 91.11 ทำการวิเคราะห์ โดยวิธีการทางสถิติ หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและหาค่าดความแปรปรวนทางเดียว นำเสนอในรูปตารางประกอบความเรียง ผลการวิจัยพบว่า : 1. สาเหตุของปัญหาการก่อการทะเลาะวิวาทของนักเรียนในการแข่งขันกีฬาระหว่งโรงเรียนรของกรมพลศึกษา กลุ่มนักเรียน กลุ่มผู้รับผิดชอบการแข่งบขันกีฬาระหว่างโรงเรียนของสถานศึกษา และกลุ่มเจ้าหน้าที่จัดทำเน้นการแข่งขันกีฬาระหว่งโรงเรียนของกรมพลศึกษา มีความคิดเกี่ยวกับ สาเหตุของปัญหาในระดับสำคัญมากที่สุด ได้แก่ นักเรียนที่ไปดูการแข่งขัน เชียร์กีฬาในลักษณะยั่วยุ ก้าวร้าว ท้าทาย ก่อให้เกิดทะเลาะวิวาทขึ้น ที่เป็นสาเหตุอยู่ในระดับมาก ได้แก่ นักกีฬาและนักเรียนที่ไปดูการแข่งขันกีฬาอยู่ในวัยคะนองพร้อมที่จะก่อการทะเลาะวิวาท และนักเรียนที่ไปดูการแข่งขันไม่เข้าใจกีฬา ไม่พอใจการเล่นหรือผลการแข่งขันหรืมีเรื่องขัดแย้งกันอยู่ก่อน อีกทั้งครู อาจารย์ผู้ควบคุมดูแลนักเรียนไปดูการแข่งขัน ไม่ห้ามปรามเมื่อนักเรียนของตนเชียร์กีฬาในลักษณะยั่วยุ ก้าวร้าว ท้าทาย และไม่อยู่ควบคุมดูแลนักเรียนของตนเดินทางกลับอย่างเรียบร้อยในการแข่งขันไม่เพียงพอ ไม่จัดตำรวจช่วยควบคุม ไม่จัดที่ดูกีฬาแยกเป็นสัดส่วนของแต่ละสถานศึกษา และบุคคลอื่น ไม่มีเขตกั้นระหว่างที่นั่งดูกันบสนาม ทางเข้า – ออกสนามแข่งขันของคู่แข่งขันไม่แยกจากกัน 2. แนวทางการป้องกันปัญหานักเรียนต่อการทะเลาวิวาทในการแข่งขันระหว่างโรงเรียนของกรมพลศึกษา กลุ่มนักเรียน กลุ่มผู้รับผิดชอบการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียนของสถานศึกษา และกลุ่มเจ้าหน้าที่จัดดำเนินการแข่งขันตกีฬาระหว่างโรงเรียนของกรมพลศึกษา มีความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการป้องกันปัญหาอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ควรจัดชี้แจงให้ครู อาจารย์ และนักเรียนทุกคนได้ทราบถึงวัตถุประงสค์ที่แท้จริง ของการกีฬาและการแข่งขักนีฬาระหว่างโรงเรียน ให้เความรู้เกี่ยวกับกติกา การแข่งขันปลูกฝังการเป็นผู้เล่นและผู้ดูที่ดีแก่นักเรียน กำหนดโทษอย่างรุนแรงแก่นักเรียนที่ก่อการทะลาะวิวาท โดยแจ้งให้รู้ทั่วกัน ผู้รับผิดชอบการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียนของสถานศึกษาควรเป็นครู อาจารย์ในสถานศึกษานั้น อบรมนักกีฬาและนักเรียนที่ไปดูการแข่งขันก่อนทุกครั้ง จัดรถรับส่ง มีการตรวจค้นสิ่งใช้เป็นอาวุธ และจัดครู อาจารย์ อยู่ควบคุมดูแลนกัเรียนของตนเดินทางกลับจนหมด ฝ่ายจัดการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียนของสถานศึกษา พิจารณาโทษอย่างเด็ดขาดต่อสถานศึกษาและนักเรียนที่เจตนากระทำผิดระเบียบการแข่งขันหรือก่อการทะเลาะวิวาทขึ้น จัดกรรมการผู้ตัดสินที่มีความพร้อม จัสารวัตรานักเรียนควบคุมดูแลความสงบเรียบร้อยในกาครแข่งขัน ตวจค้นสิ่งที่ใช้เป็นอาวุธ จัดให้ดูให้เป็นสัดส่วน มีเขตกั้นสนาม ทางเข้า – ออกของคู่แข่งขันแยกจากกัน ให้รางวัลเป็เนเกียรติแก่นักกีฬาที่เล่นมีน้ำใจเป็นนักกีฬา และแก่สถานศึกษาที่นักเรียนมีมารยาทในการเป็นผู้ดูที่ดี 3. กลุ่มนักเรียน กลุ่มผู้รับผิดชอบการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียนของสถานศึกษาและกลุ่มเจ้าหน้าที่จัดดำเนนิการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียนของกรมพลศึกษามีความคิดเห็นเกี่ยวกับสาเหตุของปัญหาการก่อการทะเลาวิวาทของนักเรียนในการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียนของกรมพลศึกษาไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ .05 4. กลุ่มนักเรียน กลุ่มผู้รบผิดชอบการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียน ของสถานศึกษาและกลุ่มเจ้าหน้าที่จัดดำเนินการแข่งขักนีฬาระกว่างโรงเรียนของกรมพลศึกษามีความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการป้องกันปัญหาก่อการทะเลาวิวาทของนักเรียนในการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียนของกรมพลศึกษาไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ .05 | - |
dc.description.abstractalternative | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสาเหตุของปัญหาและแนวทางการป้องกันปัญหาการก่อการทะเลาะวิวาทของนักเรียนในการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียนของกรมพลศึกษา โดยสุ่มตัวอย่างประชากรอย่างเจาะจง จำนวน 180 คน แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือกลุ่มนักเรียน กลุ่มผู้รับผิดชอบการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียนของสถานศึกษา และกลุ่มเจ้าหน้าที่จัดดำเนินการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียน 57 ชุด กลุ่มเจ้าหน้าที่จัดดำเนินการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียนของกรมพลศึกษา 54 ชุด และกุล่มเจ้าหน้าที่ดำเนินการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียนของกรมพลศึกษา 54 ชุด รวมได้รับข้อมูล 104 ชุด คิดเป็นร้อยละ 91.11 ทำการวิเคราะห์ โดยวิธีการทางสถิติ หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและหาค่าดความแปรปรวนทางเดียว นำเสนอในรูปตารางประกอบความเรียง ผลการวิจัยพบว่า : 1. สาเหตุของปัญหาการก่อการทะเลาะวิวาทของนักเรียนในการแข่งขันกีฬาระหว่งโรงเรียนรของกรมพลศึกษา กลุ่มนักเรียน กลุ่มผู้รับผิดชอบการแข่งบขันกีฬาระหว่างโรงเรียนของสถานศึกษา และกลุ่มเจ้าหน้าที่จัดทำเน้นการแข่งขันกีฬาระหว่งโรงเรียนของกรมพลศึกษา มีความคิดเกี่ยวกับ สาเหตุของปัญหาในระดับสำคัญมากที่สุด ได้แก่ นักเรียนที่ไปดูการแข่งขัน เชียร์กีฬาในลักษณะยั่วยุ ก้าวร้าว ท้าทาย ก่อให้เกิดทะเลาะวิวาทขึ้น ที่เป็นสาเหตุอยู่ในระดับมาก ได้แก่ นักกีฬาและนักเรียนที่ไปดูการแข่งขันกีฬาอยู่ในวัยคะนองพร้อมที่จะก่อการทะเลาะวิวาท และนักเรียนที่ไปดูการแข่งขันไม่เข้าใจกีฬา ไม่พอใจการเล่นหรือผลการแข่งขันหรืมีเรื่องขัดแย้งกันอยู่ก่อน อีกทั้งครู อาจารย์ผู้ควบคุมดูแลนักเรียนไปดูการแข่งขัน ไม่ห้ามปรามเมื่อนักเรียนของตนเชียร์กีฬาในลักษณะยั่วยุ ก้าวร้าว ท้าทาย และไม่อยู่ควบคุมดูแลนักเรียนของตนเดินทางกลับอย่างเรียบร้อยในการแข่งขันไม่เพียงพอ ไม่จัดตำรวจช่วยควบคุม ไม่จัดที่ดูกีฬาแยกเป็นสัดส่วนของแต่ละสถานศึกษา และบุคคลอื่น ไม่มีเขตกั้นระหว่างที่นั่งดูกันบสนาม ทางเข้า – ออกสนามแข่งขันของคู่แข่งขันไม่แยกจากกัน 2. แนวทางการป้องกันปัญหานักเรียนต่อการทะเลาวิวาทในการแข่งขันระหว่างโรงเรียนของกรมพลศึกษา กลุ่มนักเรียน กลุ่มผู้รับผิดชอบการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียนของสถานศึกษา และกลุ่มเจ้าหน้าที่จัดดำเนินการแข่งขันตกีฬาระหว่างโรงเรียนของกรมพลศึกษา มีความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการป้องกันปัญหาอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ควรจัดชี้แจงให้ครู อาจารย์ และนักเรียนทุกคนได้ทราบถึงวัตถุประงสค์ที่แท้จริง ของการกีฬาและการแข่งขักนีฬาระหว่างโรงเรียน ให้เความรู้เกี่ยวกับกติกา การแข่งขันปลูกฝังการเป็นผู้เล่นและผู้ดูที่ดีแก่นักเรียน กำหนดโทษอย่างรุนแรงแก่นักเรียนที่ก่อการทะลาะวิวาท โดยแจ้งให้รู้ทั่วกัน ผู้รับผิดชอบการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียนของสถานศึกษาควรเป็นครู อาจารย์ในสถานศึกษานั้น อบรมนักกีฬาและนักเรียนที่ไปดูการแข่งขันก่อนทุกครั้ง จัดรถรับส่ง มีการตรวจค้นสิ่งใช้เป็นอาวุธ และจัดครู อาจารย์ อยู่ควบคุมดูแลนกัเรียนของตนเดินทางกลับจนหมด ฝ่ายจัดการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียนของสถานศึกษา พิจารณาโทษอย่างเด็ดขาดต่อสถานศึกษาและนักเรียนที่เจตนากระทำผิดระเบียบการแข่งขันหรือก่อการทะเลาะวิวาทขึ้น จัดกรรมการผู้ตัดสินที่มีความพร้อม จัสารวัตรานักเรียนควบคุมดูแลความสงบเรียบร้อยในกาครแข่งขัน ตวจค้นสิ่งที่ใช้เป็นอาวุธ จัดให้ดูให้เป็นสัดส่วน มีเขตกั้นสนาม ทางเข้า – ออกของคู่แข่งขันแยกจากกัน ให้รางวัลเป็เนเกียรติแก่นักกีฬาที่เล่นมีน้ำใจเป็นนักกีฬา และแก่สถานศึกษาที่นักเรียนมีมารยาทในการเป็นผู้ดูที่ดี 3. กลุ่มนักเรียน กลุ่มผู้รับผิดชอบการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียนของสถานศึกษาและกลุ่มเจ้าหน้าที่จัดดำเนนิการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียนของกรมพลศึกษามีความคิดเห็นเกี่ยวกับสาเหตุของปัญหาการก่อการทะเลาวิวาทของนักเรียนในการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียนของกรมพลศึกษาไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ .05 4. กลุ่มนักเรียน กลุ่มผู้รบผิดชอบการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียน ของสถานศึกษาและกลุ่มเจ้าหน้าที่จัดดำเนินการแข่งขักนีฬาระกว่างโรงเรียนของกรมพลศึกษามีความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการป้องกันปัญหาก่อการทะเลาวิวาทของนักเรียนในการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียนของกรมพลศึกษาไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ .05 | - |
dc.format.extent | 510191 bytes | - |
dc.format.extent | 397657 bytes | - |
dc.format.extent | 380946 bytes | - |
dc.format.extent | 387902 bytes | - |
dc.format.extent | 1181740 bytes | - |
dc.format.extent | 566401 bytes | - |
dc.format.extent | 548490 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | สาเหตุของปัญหาและแนวทางการป้องกันการก่อนการทะเลาะวิวาท ของนักเรียนในการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียนของกรมพลศึกษา | en |
dc.title.alternative | Causes and ways to prevent problems from students' quarrel in interscholastic atheletics of the physical education department | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | พลศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
anchalee_ki_front.pdf | 498.23 kB | Adobe PDF | View/Open | |
anchalee_ki_ch1.pdf | 388.34 kB | Adobe PDF | View/Open | |
anchalee_ki_ch2.pdf | 372.02 kB | Adobe PDF | View/Open | |
anchalee_ki_ch3.pdf | 378.81 kB | Adobe PDF | View/Open | |
anchalee_ki_ch4.pdf | 1.15 MB | Adobe PDF | View/Open | |
anchalee_ki_ch5.pdf | 553.13 kB | Adobe PDF | View/Open | |
anchalee_ki_back.pdf | 535.63 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.