Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22743
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวิมล วัชราภัย-
dc.contributor.authorอัจฉรา ด่านอุตรา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-10-19T23:59:52Z-
dc.date.available2012-10-19T23:59:52Z-
dc.date.issued2528-
dc.identifier.isbn9745644668-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22743-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบการระลึกได้ทันที ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ใช้ภาพและจินตภาพในการเรียนร้อยแก้ว การดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างของประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และ 5 จำนวนระดับชั้นละ 60 คน รวม 120 คน จากโรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์ ปีการศึกษา 2527 โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ ความเรียงร้อยแก้วจำนวน 20 ประโยค เรื่อง “บุคคลที่น่ายกย่อง” ภาพวาดลายเส้น จำนวน 20 ภาพ และเทปบันทึกเสียงความเรียงร้อยแก้ว สุ่มนักเรียนแต่ละระดับชั้นออกเป็น 2 กลุ่ม ๆ ละ 30 คน กลุ่มที่ 1 เรียนจากภาพ กลุ่มที่ 2 เรียนจากการจินตภาพ นักเรียนในกลุ่มที่ดูภาพจะได้ฟังเนื้อเรื่องจากเทปบันทึกเสียงพร้อมกับดูภาพของแต่ละประโยคตามไปด้วย นักเรียนในกลุ่มจินตภาพ จะมีการฝึกหัดสร้างจินตภาพก่อน หลังจากนั้นนักเรียนจะได้ฟังเนื้อเรื่องจากเทปบันทึกเสียงพร้อมกับสร้างจินตภาพตามไปด้วย โดยเว้นระยะเวลานาน 5 วินาที สำหรับให้นักเรียนสร้างจินตภาพหลังจากที่ฟังแต่ละประโยค เมื่อนักเรียนฟังเนื้อเรื่องจบแล้ว ให้นักเรียนตอบคำถามสั้นๆ 20 ข้อ 10 ข้อเป็นคำถามแบบคำต่อคำ และอีก 10 ข้อเป็นคำถามแบบถอดความ แล้ววัดผลการระลึกได้ทันที นำผลที่ได้มาวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ 2 ทาง และค่า t ผลการวิจัย 1. นักเรียนที่เรียนโดยการใช้ภาพและจินตภาพ มีผลการระลึกได้ทันที แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีผลการระลึกได้ทันทีแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ไม่มีปฏิสัมพันธ์ของผลการระลึกได้ทันทีระหว่างระดับชั้นกับวิธีการเรียนที่ระดับความมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. ผลการระลึกได้ทันทีจากการตอบคำถามต่างชนิดกัน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 5. ผลการระลึกได้ทันทีจากการตอบคำถามต่างชนิดกัน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่นักเรียนโดยการใช้จินตภาพไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 6. ผลการระลึกได้ทันทีจากการตอบคำถามต่างชนิดกัน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนโดยการใช้ภาพ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01-
dc.description.abstractalternativePurpose : The purpose of this study was to compare immediate recall in prose learning of prathom suksa three and prathom suksa five students by using pictures and visual imagery. Procedure : Subjects were prathom suksa three and prothom suksa five students from Khemasiri Memorial School in the academic year 1984. Sixty students were randomly selected from each level. The instruments of this study consisted of 20 sentences prose entitled “The Respective Person”, 20 line drawing pictures, and the narration recorded on tape. The subjects in each level were randomly assigned into two groups. The first group viewed the pictures and listened to the tape, the second group was first trained to form imagery, and then only listened to the tape. After each sentence, the students were given five second interval to form imagery from the listening narration. After the presentation, 20 questions were administered to each group. Half of the questions were verbatim questions, and the other half were paraphrase questions. Data were collected and analyzed by means of two-way analysis of variance and t-test. Results : The results showed that: 1. There was significant difference at .01 level of significance between the immediate recall of prathom suksa three and prathom suksa five students. 2. There was significant difference at .01 level of significance between the immediate recall of the subjects with pictures and with imagery. 3. There was no interaction of immediate recall between each level of students and the treatments. 4. There was no significant difference between the immediate recall of prathom suksa five students with pictures and imagery on different types of questions. 5. There was no significant difference between the immediate recall of prathom suksa three students with imagery on different types of questions. 6. There was significant difference at .01 level of significance between the immediate recall of prathom suksa three students with pictures on different types of questions.-
dc.format.extent357354 bytes-
dc.format.extent354093 bytes-
dc.format.extent1065024 bytes-
dc.format.extent305466 bytes-
dc.format.extent290612 bytes-
dc.format.extent384027 bytes-
dc.format.extent595240 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการเปรียบเทียบการระลึกได้ทันทีของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ในการเรียนร้อยแก้ว โดยการใช้ภาพ และจินตภาพen
dc.title.alternativeA comparison of immediate recall of prathom suksa three and prathom suksa five students in prose learning by using pictures and visual imageryen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
atchara_da_front.pdf348.98 kBAdobe PDFView/Open
atchara_da_ch1.pdf345.79 kBAdobe PDFView/Open
atchara_da_ch2.pdf1.04 MBAdobe PDFView/Open
atchara_da_ch3.pdf298.31 kBAdobe PDFView/Open
atchara_da_ch4.pdf283.8 kBAdobe PDFView/Open
atchara_da_ch5.pdf375.03 kBAdobe PDFView/Open
atchara_da_back.pdf581.29 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.