Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22837
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจันทร์เพ็ญ เชื้อพานิช-
dc.contributor.authorอัญชลี ศรัทธานุศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-10-26T04:06:08Z-
dc.date.available2012-10-26T04:06:08Z-
dc.date.issued2525-
dc.identifier.isbn9745610186-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22837-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง โดยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 2 ประการ คือ 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนด้วยวิธีการแบ่งกลุ่มแบบต่าง ๆ กัน 4 แบบ คือ แบบที่ 1 แบ่งกลุ่มโดยครูเป็นผู้แบ่งให้โดยเรียงตามลำดับเลขที่ แบบที่ 2 แบ่งกลุ่มโดยครูเป็นผู้แบ่งให้โดยให้แต่ละกลุ่มมีนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ สูง, ปานกลาง และต่ำคละกันทุกกลุ่ม และให้นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์สูงทำหน้าที่เป็นผู้นำกลุ่ม แบบที่ 3 แบ่งกลุ่มโดยให้นักเรียนเลือกจัดกลุ่มหาผู้ร่วมงานกันเอง แบบที่ 4 แบ่งกลุ่มโดยให้นักเรียนจับสลากเพื่อหาผู้ร่วมงาน และทำการจับสลากทุกครั้งก่อนเริ่มเรียนคาบเรียนใหม่ โดยครูเป็นผู้เตรียมสลากไว้ให้ 2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการแบ่งกลุ่มในการเรียนวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างประชากรคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย จำนวน 4 ห้องเรียน ๆ ละ 48 คน นักเรียนทั้งสี่ห้องมีคะแนนผลสัมฤทธิ์วิชาวิทยาศาสตร์ประจำภาคต้นไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 การกำหนดวิธีแบ่งกลุ่มสำหรับแต่ละห้องเรียนนั้นใช้วิธีจับสลาก แล้วดำเนินการสอนวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมบัติของสาร และเรื่องหินและแร่ เป็นเวลา 12 สัปดาห์ ๆ ละ 4 คาบ ตัวอย่างประชากรได้รับการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเมื่อเรียนจบแต่ละบทเรียนและตอบแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อการแบ่งกลุ่มหลังจากการทดลองสอนนั้นสิ้นสุดลง และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) ผลการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่างประชากรทั้ง 4 กลุ่ม ที่เรียนด้วยวิธีการแบ่งกลุ่มแบบต่าง ๆ ไม่แตกต่างกันที่ระดับความมีนัยสำคัญ .05 2. กลุ่มตัวอย่างประชากรมีความเห็นด้วยต่อการเรียนแบบแบ่งกลุ่มแต่ละแบบในระดับปานกลาง
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this experimental research were twofolds: 1. To compare the science learning achievement of Mathayom Suksa One students learning by four different grouping methods as follows; 1. Grouping in order of students number. 2. Grouping the students by assigning the high, medium and low science learning achievement students for each group. The high score students in each group would be the leaders of the groups. 3. Grouping by the students themselves. 4. Grouping the students by lottery technique which was done at the beginning of each period. 2. To Study the students’ opinions concerning science learning by grouping. The samples in this research were four classes of Mathayom Suksa One students in Sam-Sean Wittayalai School. There were 48 students in each class. The sample selection criterion was that, there were no significant differences in the first semester science achievement among the four classes at the .05 level. All classes were taught for twelve weeks, four periods per week on the topics: “The Properties of Matter” and “Rocks and Minerals”. The achievement test were administered to the samples at the end of each lesson. After treatments the questionnaire which surveyed students’ opinions concerning science learning by grouping were administered to the samples. The obtained data were analyzed by means of the arithmetic mean, the standard deviation and the analysis of variance (ANOVA). The analytical data showed that: 1. There were no significant differences in science learning achievement among the four groups who learned by four different grouping methods at the .05 level. 2. The opinions of each group were that they agreed with science learning by grouping in the medium level.
dc.format.extent487530 bytes-
dc.format.extent408474 bytes-
dc.format.extent1021766 bytes-
dc.format.extent450506 bytes-
dc.format.extent524740 bytes-
dc.format.extent477114 bytes-
dc.format.extent1487913 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนด้วยวิธีการแบ่งกลุ่มแบบต่างๆen
dc.title.alternativeA comparison of the science learning achievement of mathayom suksa one students learning by different grouping methodsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineมัธยมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
unchalee_sa_front.pdf476.1 kBAdobe PDFView/Open
unchalee_sa_ch1.pdf398.9 kBAdobe PDFView/Open
unchalee_sa_ch2.pdf997.82 kBAdobe PDFView/Open
unchalee_sa_ch3.pdf439.95 kBAdobe PDFView/Open
unchalee_sa_ch4.pdf512.44 kBAdobe PDFView/Open
unchalee_sa_ch5.pdf465.93 kBAdobe PDFView/Open
unchalee_sa_back.pdf1.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.