Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2294
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรารมภ์ ซาลิมี-
dc.contributor.advisorแมนสรวง อักษรนุกิจ-
dc.contributor.authorปวริศา ธรรมวานิช, 2515--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-08-30T09:50:12Z-
dc.date.available2006-08-30T09:50:12Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745317004-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2294-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการทดลองในห้องปฏิบัติการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความแข็งแรงดัดขวางสองแกนของอินซีแรมและไอพีเอสเอมเพรส 2 ซึ่งมีอัตราส่วนความหนาของชั้นคอร์และวีเนียร์แตกต่างกัน โดยวัดจากค่าเฉลี่ยของความแข็งแรงดัดขวางสองแกน โดยทำชิ้นทดสอบเซรามิกเป็นแผ่นกลมจำนวน 100 ชิ้น เส้นผ่านศูนย์กลาง 15+-0.5 มม. ความหนา 1.2+-0.005 มม. ได้รับการขึ้นรูปตามคำแนะนำของบริษัทผู้ผลิต แบ่งชิ้นทดสอบเป็น 10 กลุ่ม กลุ่มละ 10 ชิ้น โดยกลุ่มที่ 1-5 เป็น อินซีแรมร่วมกับวีเนียร์พอร์ซเลน vitadur alpha ซึ่งมีอัตราส่วนความหนาของชั้นคอร์ต่อชั้นวีเนียร์ดังนี้ กลุ่มที่ 1 = 1.2 : 0, กลุ่มที่ 2 = 0.8 : 0.4, กลุ่มที่ 3 = 0.6 : 0.6, กลุ่มที่ 4 = 0.4 : 0.8, กลุ่มที่ 5 = 0 : 1.2 และกลุ่มที่ 6-10 เป็น ไอพีเอสเอมเพรส 2 ร่วมกับวีเนียร์พอร์ซเลน IPS Eris ซึ่งมีอัตราส่วนความหนาของชั้นคอร์ต่อชั้นวีเนียร์ดังนี้ กลุ่มที่ 6 = 1.2 : 0, กลุ่มที่ 7 = 0.8 : 0.4, กลุ่มที่ 8 = 0.6 : 0.6, กลุ่มที่ 9 = 0.4 : 0.8, กลุ่มที่ 10 = 0 : 1.2 นำชิ้นตัวอย่างทั้งหมดมาทดสอบหาความแข็งแรงดัดขวางสองแกนตามมาตรฐาน ISO 6872 ปี 1995 โดยใช้เครื่อง Instron 5583 (Instron, Canton, MA, USA) ที่ความเร็วหัวกด 1 มม. ต่อนาที ผลการทดสอบพบว่าค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของแต่ละกลุ่มมีดังนี้กลุ่มที่ 1 = 433.06+-68.37 MPa กลุ่มที่ 2 = 338.90+-22.56 MPa กลุ่มที่ 3 = 294.43+-15.19 MPa กลุ่มที่ 4 = 259.94+-14.53 MPa กลุ่มที่ 5 = 56.59+-10.54 MPa กลุ่มที่ 6 = 288.31+-44.64 MPa กลุ่มที่ 7 = 246.34+-28.16 MPa กลุ่มที่ 8 = 258.63+-27.87 MPa กลุ่มที่ 9 = 226.59+-26.37 MPa กลุ่มที่ 10 = 68.56+-5.52 MPa เมื่อนำไปวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้ ANOVA และ Tamhane's Test พบว่า อินซีแรมทั้งชั้นมีค่าความแข็งแรงดัดขวางสองแกนสูงกว่าแบบ 2 ชั้นโดยที่เมื่อความหนาของชั้นคอร์ลดลงค่าความแข็งแรงดัดขวาง สองแกนก็ลดลงตามลำดับอย่างมีนัยสำคัญ (p<.05) ส่วนไอพีเอสเอมเพรส 2 ทั้งชิ้นมีค่าความแข็งแรงดัดขวางสองแกนแตกต่างจากไอพีเอสเอมเพรส 2 แบบ 2 ชั้นอย่างไม่มีนัยสำคัญในทุกอัตราส่วนความหนาของคอร์และวีเนียร์ (p<.05) จากงานวิจัยนี้สรุปได้ว่า อัตราส่วนคอร์ต่อวีเนียร์มีผลต่อค่าความแข็งแรงดัดขวางสองแกนของอินซีแรม แต่ไม่มีผลต่อไอพีเอสเอมเพรส 2en
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study was to investigate the strength of In-Ceram and IPS Empress 2 with different thickness of core and veneer ratio by means of biaxial flexural strength (BFS). A total 100 disc samples, diameter 15+-0.5 mm. with 1.2+-0.005mm. in thickness, were fabricated following manufacturer's recommendations. The samples were divided into 10 groups (n=10, each), group 1-5 were In-Ceram (Vita ,Zahnfabrik,BadSakingen, Germany ) with veneer porcelain vitadur alpha (Vita Zahnfabrik,BadSakingen, Germany) by group 1 in ratio 1.2 : 0 , group 2 in ratio 0.8 : 0.4, group 3 in ratio 0.6 : 0.6 , group 4 in ratio 0.4 : 0.8 , group 5 in ratio 0 :1.2 and group 6-10 were IPS Empress 2 (Vivadent, Schaan, Liechtenstein) with veneer porcelain IPS Eris (Vivadent, Schaan, Liechtenstein) by group 6 in ratio 1.2 : 0, group 7 in ratio 0.8 : 0.4, group 8 in ratio 0.6 : 0.6, group 9 in ratio 0.4 : 0.8 , group 10 in ratio 0 :1.2. All samples were subjected to BFS testing following ISO 6872: 1995. All tests were carried out on the Instron 5583 (Instron, Canton, MA, USA) with crosshead speed of 1.0 mm/ min. The means+-SD of each groups were 433.06+-68.37 MPa for Group 1, 338.90+-22.56 MPa for Group 2, 294.43+-15.19 MPa for Group 3, 259.94+-14.53 MPa for Group 4, 56.59+-10.54 MPa for Group 5, 288.31+-44.64 MPa for Group 6, 246.34+-28.16 MPa for Group 7, 258.63+-27.87 MPa for Group 8, 226.59+-26.37 MPa for Group 9, and 68.56+-5.52 MPa for Group 10. ANOVA and Tamhane's Test revealed that the BFS of In- ceram alone was significantly higher than In-Ceram combined with veneer porcelain as well as decreasing of strength when the thickness of core was decreased respectively (p<0.05). For IPS Empress 2, the BFS of IPS Empress 2 alone was not significantly different from IPS Empress 2 combined with veneer porcelain with any core:veneer ratio (p<0.05). It was concluded that core and veneer thickness ratio affect the BFS of In-Ceram but not for IPS Empress 2.en
dc.format.extent911452 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2004.299-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอินซีแรมen
dc.subjectพอร์ซเลนทางทันตกรรมen
dc.subjectไอพีเอสเอมเพรสen
dc.titleความแข็งแรงดัดขวางสองแกนของอินซีแรมและไอพีเอสเอมเพรส 2 ที่อัตราส่วนคอร์ต่อวีเนียร์ต่างกันen
dc.title.alternativeBiaxial flexural strength of in-ceram and IPS empress 2 with differences in core : veneer ratioen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineทันตกรรมประดิษฐ์en
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.authorPrarom.S@chula.ac.th-
dc.email.authorMansuang.A@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2004.299-
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PawarisaTh.pdf918.42 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.