Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23029
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชุมพร ยงกิตติกุล | - |
dc.contributor.author | ไพจิตร ฝักเจริญผล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-01T18:12:28Z | - |
dc.date.available | 2012-11-01T18:12:28Z | - |
dc.date.issued | 2523 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23029 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2523 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตมโนทัศน์และความสอดคล้องของอัตมโนทัศน์กับการปรับตัว และสติปัญญา 2) เพื่อเปรียบเทียบอัตมโนทัศน์และความสอดคล้องของอัตมโนทัศน์ของนักเรียนที่มีการปรับตัวและสติปัญญาตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร 3 โรง และจังหวัดใกล้เคียง 4 โรง จำนวน 233 คน เครื่องมือที่ใช้ในการการวิจัยมีแบบวัดบุคลิกภาพและแบบทดสอบ 3 ชุด คือ แบบวัดอัตมโนทัศน์ แบบวัดการปรับตัว และแบบทดสอบแมทรีซีสก้าวหน้า ฉบับมาตรฐาน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีหาค่าสหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและการวิเคราะห์ความแปรปรวน 2 ทาง แบบไม่วัดซ้ำ ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) อัตมโนทัศน์ และ การปรับตัวมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = .31) 2) ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างอัตมโนทัศน์กับสติปัญญา การปรับตัวกับสติปัญญา และไม่พบความสอดคล้องของอัตมโนทัศน์กับการปรับตัวและความสอดคล้องของอัตมโนทัศน์กับสติปัญญา 3) อัตมโนทัศน์ของนักเรียนที่มีการปรับตัวแตกต่างกันที่มีความแตกต่างกัน กล่าวคือ นักเรียนที่มีการปรับตัวดีมีอัตมโนทัศน์สูงกว่านักเรียนที่มีการปรับตัวไม่ดี 4) อัตมโนทัศน์ของนักเรียนที่มีสติปัญญาแตกต่างกันไม่แตกต่างกัน 5) ความสอดคล้องของอัตมโนทัศน์ของนักเรียนที่มีการปรับตัวและสติปัญญาแตกต่างกันไม่แตกต่างกัน | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were (1) to investigate self concept, the congruence between self concept and inferred self concept of Mathayom One students as related to personal adjustment and general intelligence and 2) to compare self concept and the congruence between self concept of the students with different level of adjustment and intelligence. The sample comprised of 233 Mathayom One students from three schools in Bangkok and four schools in nearby provinces. The research instruments used in this study were the Self Concept Scale, the Personal Adjustment Questionnaire, and the standard Progressive Matrices. The procedures of data analysis were Pearson1 Product Moment Correlation and two-way analysis of variance, unrepeated measured. The research findings were as follows: 1) A statistically significant correlation was found between self concept and personal adjustment ( r = .31). 2) No statistically significant correlations were found among other variables. 3) The well-adjusted students had higher level of self concept than did the mal-adjusted, 4) There was no statistically significant difference between the self concept of students with different level of intelligence. 5) There was of significant difference between the congruence of self concept of students with different levels of adjustment and those with diffe¬rent levels of intelligence. | |
dc.format.extent | 471900 bytes | - |
dc.format.extent | 1730450 bytes | - |
dc.format.extent | 559852 bytes | - |
dc.format.extent | 493969 bytes | - |
dc.format.extent | 497656 bytes | - |
dc.format.extent | 371947 bytes | - |
dc.format.extent | 728864 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างอัตมโนทัศน์ การปรับตัว และสติปัญญาของนักเรียนชั้นมัธยมปีที่ 1 | en |
dc.title.alternative | Relationships among self concept, personal adjustment, and general intelligence of mathayom one students | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | จิตวิทยาการศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Paychit_Fa_front.pdf | 460.84 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Paychit_Fa_ch1.pdf | 1.69 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Paychit_Fa_ch2.pdf | 546.73 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Paychit_Fa_ch3.pdf | 482.39 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Paychit_Fa_ch4.pdf | 485.99 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Paychit_Fa_ch5.pdf | 363.23 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Paychit_Fa_back.pdf | 711.78 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.