Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23059
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Wirth, Bernard | |
dc.contributor.author | Phiengrithai Vasboonma | |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Graduate School | |
dc.date.accessioned | 2012-11-03T03:57:10Z | |
dc.date.available | 2012-11-03T03:57:10Z | |
dc.date.issued | 1981 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23059 | |
dc.description | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 1981 | en |
dc.description.abstract | 1949 constitue une date-clef selon Simone de Beauvoir, c’est la pha,se de transition entre la soumission et la révolte de la femme ; c'est aussi la publication du " Deuxième Sexe ", un Essai qui analyse systématiquement la condition de 1a. femme jusq'à nos jours, sa place et son rôle dans la société et nous donne des perspectives, d’avennir. Ce livre est d'une importance primordiale : il est le fondement, ou au inoins une référence essentielle pour tout étude sur le feminisme. Pour présenter la situation de la femme dans sa totalité, 1’auteur s’appuie sur la thèse existentialiste. Grâce à cette philoso-phie de la liberté, elle a dévoilé la volonteé de l'homme qui, tout en se transcendant, étend sa domination sur la femme et lui fait revêtir des " attitudes inauthentiques et des figures d’emprunt, commodément offertes en guise de refuges et d’alibis ". 1 Le postulat fondamental de 1’auteur " On ne naÎt pas femme, on le devient " montre bien que 1H. Nahas, La femme dans la littérature exlstentielle ( P.U.F 1975), p. 144. 1’essence de 1'infériorité et de la soumission de la femme n'est pas fondee en nature mais est le resultat d'un devenir dû à une " situation de fait établie depuis l’origine des temps, selon laquelle l’homme, s'étant posé comme l’être essentiel, a évincé la femme de son système de pensée et de ses projets d’action ". Lea étapes de ce phenomena sont tirees de l'histoire, concretiées dans les mythes et se manifestent aussi aux différents âges de la femme, depuis sa naissance jusqu’à sa vieillesse. | |
dc.description.abstractalternative | ปี ค.ศ. 1943 สำหรับซิมอน เดอ โบวัวร์ เป็นระยะหัวเลี้ยวหัวต่อของการยอมอยู่ใต้อำนาจผู้ชายและการเรียกร้องสิทธิของผู้หญิง ในปีนี้เองที่ปรากฏการตีพิมพ์หนังสือเรื่อง “ เลอ เดอเซียม เซ็กส์ ” ความเรียงซึ่งผู้ประพันธ์วิเคราะห์สถานภาพของสตรีอย่างมีระบบแบบแผน ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันทั้งทางด้านสถานะและบทบาทของสตรีในสังคม อีกทั้งยังเสนอแนวโน้มที่จำเป็นไปในอนาคตไว้ด้วย งานประพันธ์เรื่องนี้ถือได้ว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งเพราะเป็นดังรากฐาน และอย่างน้อยที่สุดเป็นคู่มืออ่างอิงในการศึกษาเรื่องของสตรีอย่างรอบด้าน ผู้ประพันธ์ใช้ปรัชญาเอ็กซิสเทนเชียลลิสม์เป็นพื้นฐานในการวิเคราะห์สถานภาพของสตรีในส่วนร่วม และด้วยปรัชญาแห่งเสรีภาพนี้เอง ผู้ประพันธ์ได้เปิดเผยให้เห็นถึงเจตจำนงของผู้ชายซึ่งขณะที่กำลังยกระดับสภาพตนเองให้เหนือระดับของสรรพสัตว์ทั้งมวลนั้นได้พยามยามเข้าครอบงำและฉาบความคิดทัศนคติจอมปลอมให้แก่ผู้หญิง หลักการอันเป็นพื้นฐานสำหรับผู้ประพันธ์คือ “คนไม่ได้เกิดเป็นผู้หญิง แต่กลายเป็นผู้หญิง” ลักษณะของคำต่ำต่อยและการยอมอยู่ใต้อำนาจผู้ชายของผู้หญิงมิได้เป็นสิ่งกำหนดมาโดยธรรมชาติ แต่เป็นผลของการกลายสภาพเป็นขึ้นที่หลังในสังคม ทั้งนี้เกี่ยวเนื่องจากสภาพการที่สร้างขึ้นนับแต่ยุคเริ่มแรก โดยขณะที่ผู้ชายกำลังสร้างตัวขึ้นเป็นมนุษย์ผู้เป็นหลักสำคัญของสิ่งทั้งปวงอยู่นั้น เขาได้ขับไล่ผู้หญิงออกจากระบบแห่งความคิดและการกระทำทั้งหลายของเขาขั้นตอนต่างๆ ของสภาพอันนี้ มีอยู่ตามเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ เห็นจริงได้จากตำนานนิทาน นิยายต่างๆ และยังปรากฏอยู่ในช่วงวัยต่างๆ ของผู้หญิงนับตั้งแต่ลืมตาดูโลกจนกระทั่งชราภาพ วัตถุประสงค์ของงานค้นคว้าฉบับนี้ก็เพื่อที่จะแสดงให้เห็นความคิดของซิมอน เดอโบวัวร์ ทั้งด้านสถานภาพของสตรีที่ปรากฏผ่านทางความเรียงเรื่องนี้ และเพื่อที่จะได้วิเคราะห์แกนหลักสำคัญๆ ดังที่กล่าวมาแล้วนั่นเอง | |
dc.format.extent | 784013 bytes | |
dc.format.extent | 1012050 bytes | |
dc.format.extent | 1158564 bytes | |
dc.format.extent | 1621279 bytes | |
dc.format.extent | 949570 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | en | es |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en |
dc.rights | Chulalongkorn University | en |
dc.subject | Women in literature | |
dc.subject | Beauvoir, Simone de, 1908- | |
dc.subject | French literature -- History and criticism | |
dc.subject | ||
dc.subject | ||
dc.title | La condition de la femme dans "Le Deuxieme Sexe" de Simone de BEAUVOIR | en |
dc.title.alternative | สถานภาพของสตรีในงานเขียนเรื่อง "เลอ เดอเซียม เซ็กส์" ของ ซิมอน เดอ โบวัวร์ | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | Master of Arts | es |
dc.degree.level | Master's Degree | es |
dc.degree.discipline | French | |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Phiengrithai_Va_front.pdf | 765.64 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Phiengrithai_Va_ch1.pdf | 988.33 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Phiengrithai_Va_ch2.pdf | 1.13 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Phiengrithai_Va_ch3.pdf | 1.58 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Phiengrithai_Va_back.pdf | 927.31 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.