Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23060
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุมา สุคนธมาน-
dc.contributor.authorเพ็ญศรี สนับบุญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-03T03:59:58Z-
dc.date.available2012-11-03T03:59:58Z-
dc.date.issued2519-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23060-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2519en
dc.description.abstractความมุ่งหมาย การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาภาษาอังกฤษเรื่อง “คำศัพท์เปรียบเทียบขั้นสูงสุดโดยการเติมปัจจัย” สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่เจ็ด และหารประสิทธิภาพของบทเรียนตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 การดำเนินการ 1. สร้างบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาภาษาอังกฤษเรื่อง “คำศัพท์เปรียบเทียบขั้นสูงสุดโดยการเติมปัจจัย” สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่เจ็ด ตามจุดหมายเชิงพฤติกรรม 2. สร้างแบบสอบโดยหาระดับความยาก ค่าอำนาจจำแนกและความเที่ยงของแบบสอบ เพื่อนำไปทดสอบกับนักเรียนก่อนเรียนบทเรียนและหลังเรียนบทเรียนแบบโปรแกรม 3. นำบทเรียนแบบโปรแกรมที่สร้างขึ้นไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดประยุรวงศาวาส สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร เหตุที่ต้องทดลองใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เพราะนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 7 ได้เรียนเนื้อหาวิชาบทเรียนนี้แล้วในขณะที่ทำการทดลอง 4. การทดลองเรียนบทเรียนแบบโปรแกรมเป็นไปตามลำดับขั้นคือ ก) การทดลองแบบหนึ่งต่อหนึ่ง ข) ทดลองแบบกลุ่มนักเรียน 10 คน และ ค) ทดลองแบบสนามกับนักเรียน 100 คน ผลการทดลอง ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของบทเรียนโปรแกรมที่สร้างขึ้นนี้ปรากฏว่านักเรียนสามารถตอบคำถามในบทเรียนได้ถูกต้องโดยเฉลี่ยร้อยละ 92.53 และนักเรียนสามารถทำคะแนนจากแบบสอบหลังจากเรียนบทเรียน ได้โดยเฉลี่ยร้อยละ 88.78 สรุปว่าบทเรียนที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 92.53/88.78 ซึ่งมีประสิทธิภาพต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ที่ตั้งไว้ อย่างไรก็ตาม การทดสอบความแตกต่างระหว่างคะแนนเฉลี่ยของการสอบก่อนเรียนบทเรียน และหลังเรียนบทเรียน ปรากฏว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงว่าบทเรียนแบบโปรแกรมที่ช่วยให้นักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้น
dc.description.abstractalternativePurpose of the study The purpose of this research was to construct an English Programmed Lesson on "Superlative Degree Adjective by Suffixing" for Prathom Suksa Sevan and to find out the effectiveness of this programmed lesson according to the 90/90 standard. Procedures The procedures were conducted as follows : 1. Constructing; programmed lesson on "Superlative Degree Adjective by Suffixing" for Prathom Suksa Seven based on the behavioral objectives. 2. Finding out the level of difficulty, the power of discrimination and the reliability of the test to be used as pre-test and post-test. 3. Administering the programmed lesson to Prathom Suksa Six students of Wat Prayurawongsavas school, Bangkok Metropolis, The reason for choosing these students was that the Prathom tiuksa Seven students have learned this lesson during the experiment. 4. Trying out. the programmed lesson in three steps: namely, one-to-one testing, Small group testing, (ten students) and field testing (one hundred students). Results: The analysis of the results of the programmed lesson shows, that the students were able to answer the questions in the programmed lesson at the average score of 92.53 percent. The students were able to make the average score of 88.78 from the post -test. This indicates that the programmed lesson has the effectiveness at 92.53/88.78 which is lower than the 90/90 standard. However, the result of the arithmetic mean (x ̅) of the pre-test and the post -test is significiantly different at the level of .01. It shows that the programmed, lesson makes the students increase their knowledge.
dc.format.extent411743 bytes-
dc.format.extent572651 bytes-
dc.format.extent1006923 bytes-
dc.format.extent1809510 bytes-
dc.format.extent369508 bytes-
dc.format.extent365622 bytes-
dc.format.extent1277524 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectแบบเรียนสำเร็จรูป
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน
dc.titleการสร้างบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาภาษาอังกฤษเรื่อง "คำคุณศัพท์เหรียบเทียบชั้นสูงสุดโดยการเติมปัจจัย" สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่เจ็ดen
dc.title.alternativeConstruction of an English programmed lesson on "superlative degree adjective by suffixing" for prathom suksa sevenen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineประถมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phensri_Sa_front.pdf402.09 kBAdobe PDFView/Open
Phensri_Sa_ch1.pdf559.23 kBAdobe PDFView/Open
Phensri_Sa_ch2.pdf983.32 kBAdobe PDFView/Open
Phensri_Sa_ch3.pdf1.77 MBAdobe PDFView/Open
Phensri_Sa_ch4.pdf360.85 kBAdobe PDFView/Open
Phensri_Sa_ch5.pdf357.05 kBAdobe PDFView/Open
Phensri_Sa_back.pdf1.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.