Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23232
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชุมพร ยงกิตติกุล-
dc.contributor.advisorสมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต-
dc.contributor.authorภรณี อินทศร-
dc.date.accessioned2012-11-06T18:53:52Z-
dc.date.available2012-11-06T18:53:52Z-
dc.date.issued2526-
dc.identifier.isbn9745624551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23232-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการใช้วิธีควบคุมตนเองปรับพฤติกรรมตั้งใจเรียนในห้องเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ห้า กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนจำนวน 24 คน เป็นกลุ่มทดลอง 12 คน กลุ่มควบคุม 12 คน ด้วยวิธีจับคู่นักเรียนที่มีระดับพฤติกรรมตั้งใจเรียนใกล้เคียงมากที่สุด แล้วจัดสุ่มเข้ากลุ่มทดลองหรือกลุ่มควบคุม การทดลองแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ระยะแรกหาเส้นฐานพฤติกรรมตั้งใจเรียนของนักเรียนทั้ง 2 กลุ่ม ระยะที่สองให้นักเรียนกลุ่มทดลองใช้วิธีควบคุมตนเองปรับพฤติกรรมตั้งใจเรียน ส่วนนักเรียนกลุ่มควบคุมไม่ต้องปรับพฤติกรรมรวมตั้งใจ คงเรียนหนังสือตามปกติ ระยะสุดท้ายทำการติดตามผล การวิเคราะห์ข้อมูลทำโดยเปรียบเทียบภายในกลุ่ม และเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มด้วยวิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ แล้วทดสอบความแตกต่างรายคู่ภายในกลุ่มด้วยวิธีของนิวแมนคลูส์ และทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่มด้วยการทดสอบค่าที ผลการทดลองพบว่า 1. ระดับพฤติกรรมตั้งใจเรียนของนักเรียนกลุ่มทดลองในระยะที่ใช้วิธีควบคุมตนเองสูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระกับ .01 2. ระดับพฤติกรรมตั้งใจเรียนของนักเรียนกลุ่มทดลองในระยะติดตามผลสูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระกับ .01 3. ระดับพฤติกรรมตั้งใจเรียนของนักเรียนกลุ่มทดลองในระยะที่ใช้วิธีควบคุมตนเองสูงกว่าระยะเส้นฐานพฤติกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. ระดับพฤติกรรมตั้งใจเรียนของนักเรียนกลุ่มทดลองในระยะติดตามผลสูงกว่าระยะเส้นฐานพฤติกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 5. ระดับพฤติกรรมตั้งใจเรียนของนักเรียนกลุ่มทดลองในระยะที่ใช้วิธีควบคุมตนเองสูงกว่าระยะติดตามผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to investigate the effects of self - control techniques on the modification of attentive behavior in the classroom of Pratomsuksa Five students. Subjects included 24 students who were matched according to their attentive behavior'ร level and randomly assigned to the experimental and the control groups. The experiment was divided into three phases : the baseline phase, the self -control phase and the follow - up phase. Data were compared both within groups and between groups. The analysis of data was done through analysis of varience with, repeated measures, the Newman-Kueis test and the t-test. Research findings were:- 1. During the self - control phase. the level of attentive behavior of the experimental group was higher than that of the control group, significant at the .01 level. 2. During the follow - up phase, the level of attentive behavior of the experimental group was higher than that of the control group, significant at the .01 level. 3. For the experimental group, the level of attentive behavior during the self - control phase was higher than that of the baseline phase, significant at the .01 level. 4. For the experimental group, the level of attentive behavior during the follow - up phase was higher than during the baseline phase, significant at the .01 level. 5. For the experimental group, the level of attentive behavior during the self - control phase was higher than during the follow - up phase, significant at the .01 level.-
dc.format.extent542455 bytes-
dc.format.extent1635465 bytes-
dc.format.extent583606 bytes-
dc.format.extent458677 bytes-
dc.format.extent448760 bytes-
dc.format.extent367632 bytes-
dc.format.extent853877 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectพฤติกรรมการเรียน-
dc.subjectนักเรียน -- การปรับพฤติกรรม-
dc.titleผลของการใช้วิธีควบคุมตนเองปรับพฤติกรรมตั้งใจเรียนในห้องเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ห้าen
dc.title.alternativeEffects of self-control techniques on the modification of attentive behavior in the classroom of prathom suksa five students / Poranee Intasorn Imprint 2526en
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Poranee_In_front.pdf257.5 kBAdobe PDFView/Open
Poranee_In_ch1.pdf1.6 MBAdobe PDFView/Open
Poranee_In_ch2.pdf569.93 kBAdobe PDFView/Open
Poranee_In_ch3.pdf447.93 kBAdobe PDFView/Open
Poranee_In_ch4.pdf438.24 kBAdobe PDFView/Open
Poranee_In_ch5.pdf359.02 kBAdobe PDFView/Open
Poranee_In_back.pdf833.86 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.