Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23436
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนวลฉวี หงษ์ประสงค์-
dc.contributor.advisorขจร กังสดาลพิภพ-
dc.contributor.authorพิณแข รัชนี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-08T09:11:08Z-
dc.date.available2012-11-08T09:11:08Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745321486-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23436-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2547en
dc.description.abstractการศึกษาทางระบาดวิทยาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบ cross-sectional มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความชุกและความรุนแรงของโรคปริทันต์อักเสบและความสัมพันธ์ระหว่างสภาวะโรคปริทันต์อักเสบกับโรคหัวใจและหลอดเลือด ในพนักงานผู้สูงอายุของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ที่มีอายุ 49-72 ปี ที่เข้าร่วมโครงการการวิจัยเพื่อหาปัจจัยเสี่ยงด้านโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งมีประชากรที่ได้รับการตรวจฟัน 2,276 คน และกลุ่มตัวอย่างที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือกได้รับการตรวจสภาวะปริทันต์ 2,005 คน โดยจะได้รับการ ตรวจสภาวะปริทันต์เมื่อมีฟันอย่างน้อย 6 ซี่ใน 2 ส่วนของช่องปากที่สุ่มเลือกมา ตรวจหาปริมาณคราบจุลินทรีย์ วัดความลึกของร่องลึกปริทันต์ระดับเหงือกร่นและการสูญเสียการยึดเกาะของอวัยวะปริทันต์ซี่ละ 6 ตำแหน่ง การวินิจฉัยโรคปริทันต์อักเสบได้จากระดับร่องลึกปริทันต์ร่วมกับการสูญเสียการยึดเกาะของอวัยวะปริทันต์ ส่วนการวินิจฉัยโรคหัวใจและหลอดเลือดทำโดยแพทย์โรคหัวใจ ได้แก่ โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคหลอดเลือดสมอง ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าผู้สูงอายุในกลุ่มตัวอย่างเป็นโรคปริทันต์อักเสบร้อยละ 82.0 ซึ่งแบ่งเป็นโรคปริทันต์ อักเสบระดับต้นร้อยละ 42.2 ระดับกลางร้อยละ 29.3 และระดับรุนแรงร้อยละ10.5 พบว่ามีกลุ่มตัวอย่างป่วย ด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด 217 คน คิดเป็นร้อยละ 10.82 เมื่อเปรียบเทียบกลุ่มตัวอย่างที่เป็นโรคปริทันต์ อักเสบและไม่เป็นโรคปริทันต์อักเสบ มีความชุกของโรคหัวใจและหลอดเลือดเท่ากันคือร้อยละ 10.83 จากการ วิเคราะห์หาปัจจัยเสียงโดยใช้สถิติ Logistic Regression Analysis และควบคุมตัวแปรทีอาจมีผลต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด ได้แก่ เพศ อายุ การไม่ออกกำลังกาย การสูบบุหรี่ โรคอ้วน โรคเบาหวาน ระดับ โคเลสเตอรอลรวม เอชดีแอลโคเลสเตอรอล ความดันโลหิตซิสโตลิกและไดแอสโตลิก พบว่าปัจจัยที่มี ความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ได้แก่ อายุ การไม่ออกกำลังกาย โรคเบาหวาน ระดับเอชดีแอลโคเลสเตอรอลและความดันโลหิตซิสโตลิก สำหรับโรคปริทันต์อักเสบ ไม่พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) (OR = 0.87, 95% Cl; 0.59 - 1.27) แต่จากการวิเคราะห์ด้วยสถิติ One-way ANOVA พบว่าความรุนแรงของโรคปริทันต์อักเสบมีความสัมพันธ์กับภาวะไขมัน ในเลือดสูง อันได้แก่ ระดับเอซดีแอลโคเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) จากการวิจัยครั้งนี้สรุปได้ว่าโรคปริทันต์อักเสบเป็นโรคที่มีความชุกสูงในผู้สูงอายุของพนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย แม้ว่าโรคปริทันต์อักเสบไม่ได้เป็นตัวชี้วัดความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด แต่ อาจจะมีความสัมพันธ์กับตัววัดความเสี่ยงที่สำคัญของโรคหัวใจและหลอดเลือดคือระดับไขมันในเลือดทีเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ควรมีศึกษาเพิ่มเติมในระยะยาวเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ดังกล่าวต่อไป-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this epidemiological study is to determine the prevalence and severity of periodontal disease and the relationship between periodontitis and cardiovascular disease (CVD) in the elderly workers of Electricity Generating Authority of Thailand. The medical and dental surveys were conducted in 49-72 year-old subjects, who submitted in the cardiovascular risk factor identification project of Faculty of Medicine, Ramathibodi Hospital, Mahidol University and Faculty of Dentistry Chulalongkorn University. 2,005 out of 2,276 subjects, who had at least 6 teeth in two randomly selected quadrants per person, were qualified for periodontal examinations. These included measuring of plaque accumulation, probing pocket depth, gingival recessions and attachment lost. The periodontal status of each subject was categorized by criteria based on the extent and severity of probing depth and clinical attachment loss. Diagnosis of CVD was done by cardiologist. We found that 82.0% of subjects had periodontitis, which could be categorized into 42.2% of mild periodontitis, 29.3% of moderate periodontitis and 10.5% of severe periodontitis. 217 of 2005 subjects had CVD (10.82%). There is no difference in prevalence of CVD (10.83%) between non-periodontitis and periodontitis group. The multiple logistic regression analysis, after adjusting for gender, age, smoking habit, non-exercise activity, BMI, diabetes, total cholesterol, HDL cholesterol, systolic blood pressure and diastolic blood pressure, revealed statistically non-significant association between periodontitis and CVD (OR = 0.87, 95% Cl; 0.59 - 1.27). However, significant risk indicators for CVD including age, non-exercise activity, diabetes, systolic blood pressure and HDL cholesterol (p<0.05) were found. On the other hand, by using One-way ANOVA, periodontitis was found to be significantly correlated to HDL cholesterol and Triglyceride level (p<0.05), both of which are the major risk factors of CVD. In conclusion, periodontitis is highly prevalent in the elderly workers of EGAT. The presence of periodontitis does not cause, increased CVD risk but may associate with hyperlipidemia. Further longitudinal epidemiological study would be necessary in order to validate this association in term of causality.-
dc.format.extent3484326 bytes-
dc.format.extent4195696 bytes-
dc.format.extent5917937 bytes-
dc.format.extent2828887 bytes-
dc.format.extent7843238 bytes-
dc.format.extent6002024 bytes-
dc.format.extent19841035 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2004.542-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย -- ลูกจ้าง -- สุขภาพและอนามัย-
dc.subjectผู้สูงอายุ -- การดูแลทันตสุขภาพ-
dc.subjectโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้สูงอายุ -- การวินิจฉัยโรค-
dc.subjectระบบหัวใจและหลอดเลือด -- โรค -- การวินิจฉัยโรค-
dc.subjectElectricity Generating Authority of Thailand -- Employees -- Health and hygiene-
dc.subjectOlder people -- Dental care-
dc.subjectCardiovascular diseases in old age -- Diagnosis-
dc.subjectCardiovascular system -- Diseases -- Diagnosis-
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างโรคปริทันต์และโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้สูงอายุของพนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยen
dc.title.alternativeAssociation between periodontal disease and cardiovascular disease in elderly workers of Electricity Generating Authority of Thailanden
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineปริทันตศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2004.542-
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pinkae_ra_front.pdf3.4 MBAdobe PDFView/Open
Pinkae_ra_ch1.pdf4.1 MBAdobe PDFView/Open
Pinkae_ra_ch2.pdf5.78 MBAdobe PDFView/Open
Pinkae_ra_ch3.pdf2.76 MBAdobe PDFView/Open
Pinkae_ra_ch4.pdf7.66 MBAdobe PDFView/Open
Pinkae_ra_ch5.pdf5.86 MBAdobe PDFView/Open
Pinkae_ra_back.pdf19.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.