Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23484
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เชวง ยังเจริญ | |
dc.contributor.advisor | ธิติมา พิทักษ์ไพรวัน | |
dc.contributor.author | ทิพยรัตน์ วานิชชา | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2012-11-09T02:02:13Z | |
dc.date.available | 2012-11-09T02:02:13Z | |
dc.date.issued | 2521 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23484 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2521 | en |
dc.description.abstract | การปรับปรุงท้องถิ่นทุรกันดารในปัจจุบันนี้เป็นผลเนื่องจาก รัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เกิดความหวั่นเกรงว่าสภาพท้องถิ่นทุรกันดาร และความสัมพันธ์ที่เหินห่างระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐ และประชาชนที่อาศัยอยู่ในท้องถิ่นเหล่านั้นเป็นทางทำให้ฝ่ายตรงกันข้ามถือโอกาสเข้ามาแทรกซึม โฆษณาชวนเชื่อ และตั้งฐานปฏิบัติการในประเทศไทย ดังนั้นเพื่อเสถียรภาพของรัฐบาลและความมั่นคงของประเทศ รัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ จึงได้ริเริ่มการปรับปรุงท้องถิ่นทุรกันดารขึ้น ด้วยมีความมุ่งหวังที่จะให้ท้องถิ่นทุรกันดารเจริญในทุก ๆ ด้าน และในขณะเดียวกันประชาชนในท้องถิ่นเหล่านั้นจะมีฐานะ และสภาพความเป็นอยู่ดีขึ้น พร้อมกับมีศรัทธาเชื่อมั่น และไว้วางใจในรัฐบาลยิ่งขึ้นด้วย แต่เนื่องจากเป็นระยะแรกเริ่ม การดำเนินงานในขณะนั้นจึงมีลักษณะเป็นการช่วยเหลือและแก้ปัญหาเฉพาะหน้า แต่อย่างไรก็ตามรัฐบาลจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ก็ได้วางลู่ทางและกำหนดโครงการระยะยาว ที่จะให้ประชาชนในท้องถิ่นเหล่านั้นรู้จักช่วยตนเองโดยที่รัฐบาลจะให้ความช่วยเหลือทางด้านเทคนิควิชาการ และงบประมาณ ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็น ทั้งนี้เพื่อให้ประชาชนในท้องถิ่นเหล่านั้นมีความสามารถพอที่จะพัฒนาด้วยตนเองต่อไปในวันข้างหน้า วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษา และวิเคราะห์ข้อเท็จจริงซึ่งเป็นแรงผลักดันที่ก่อให้เกิดการเริ่มต้นงานปรับปรุงท้องถิ่นทุรกันดารอย่างเป็นจริงเป็นจัง ในสมัยจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ รวมทั้งศึกษาถึงหลักการและวิธีดำเนินงานของส่วนราชการต่าง ๆ ในระยะนั้น ตลอดจนติดตามผลงานและผลสะท้อนจากหลักการในช่วงนั้นด้วย ผลวิจัยสรุปได้ว่า การปรับปรุงท้องถิ่นทุรกันดารซึ่งริเริ่มในสมัย จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ นั้นเท่าที่ได้ดำเนินงานมาจนถึงปัจจุบันนี้ ยังมิได้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่รัฐบาล จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ได้วางไว้ ที่จะให้ท้องถิ่นทุรกันดารเจริญขึ้นในทุก ๆ ด้าน และประชาชนในท้องถิ่นเหล่านั้นมีขีดความสามารถที่จะพัฒนาด้วยตนเองต่อไปได้ ทั้งนี้จะเห็นได้ว่า การดำเนินงานในปัจจุบันนี้ยังคงเป็นเพียงการให้ความช่วยเหลือและแก้ปัญหาเฉพาะหน้าเป็นครั้งคราวเท่านั้น ปัญหาความขาดแคลน ความอดอยากและความกันดารของท้องถิ่นทุรกันดารส่วนใหญ่ยังคงมีอยู่ | |
dc.description.abstractalternative | Modernization in remote areas at present has resulted from the attempts made by Sarit Thanarat’s government to encourage the people’s support to the government legitimacy, authority and stability of the country as a whole. The Sarit Thanarat’s government had anticipated that the poor conditions in those areas and the distant relationships between officials and the rural people would create grievances among people. Such a condition would provide good opportunities for insurgency infiltration and operation in Thailand. For the government stability, Sarit Tanarat’s government therefore, started modernization in remote areas with the hope that the areas would become developed in all aspects and the people would have better standards of living and at the same time would develop greater faith and trust in the government. At the beginning stage, the [operations] of Sarit Thanarat’s government were in the form of short-term help and solutions to urgent problems. However the Sarit Thanarat’s government had engineered long-term projects for future self-development of the people with the aids from the government in the form of funds, technical advice, materials and equipment. The main purpose of this research is to study and [analyze] the motivations for modernization in remote areas during the Sarit Thanarat’s Administration. This includes the study of its planning and programs as well as its outcome. This research’s finding is that, the modernization in remote areas has not reached the goal set by Sarit Thanarat’s government which aimed at progress in those areas and at the capacity for self-development of the people. It is obvious that nowadays the procedure is still only in the form of short-term help and occasional solutions of urgent problems. The conditions of starvation and scarcity still remained. | |
dc.format.extent | 1262096 bytes | |
dc.format.extent | 2953927 bytes | |
dc.format.extent | 8708564 bytes | |
dc.format.extent | 5250325 bytes | |
dc.format.extent | 3107605 bytes | |
dc.format.extent | 975808 bytes | |
dc.format.extent | 3661248 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การปรับปรุงท้องถิ่นทุรกันดารโดยรัฐบาลสมัย จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (พ.ศ. 2501 - 2506) | en |
dc.title.alternative | Modernization in remote areas during tho administration of Field Marshal Sarit Thanarat | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | ประวัติศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thippayarat_Va_front.pdf | 1.23 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Thippayarat_Va_ch1.pdf | 2.88 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Thippayarat_Va_ch2.pdf | 8.5 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Thippayarat_Va_ch3.pdf | 5.13 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Thippayarat_Va_ch4.pdf | 3.03 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Thippayarat_Va_ch5.pdf | 952.94 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Thippayarat_Va_back.pdf | 3.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.