Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23510
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัตนา พุ่มไพศาล
dc.contributor.advisorทวีวัฒน์ ปิตยานนท์
dc.contributor.authorวิโรจน์ ขวัญเกื้อ
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-09T03:28:29Z
dc.date.available2012-11-09T03:28:29Z
dc.date.issued2530
dc.identifier.isbn9745684066
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23510
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530en
dc.description.abstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารการศึกษานอกโรงเรียน ผู้นำท้องถิ่น และโต๊ะอิหม่ามเกี่ยวกับบทบาทของโต๊ะอิหม่ามในจังหวัดชายแดนภาคใต้ในการสนับสนุนการพัฒนาโครงการการศึกษานอกระบบโรงเรียน ใน 3 ด้าน คือ 1.) ด้านความรู้พื้นฐานทั่วไป 2.) ด้านทักษะอาชีพ 3.) ด้านข่าวสารข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า ผู้บริหารการศึกษานอกโรงเรียน ผู้นำท้องถิ่น และโต๊ะอิหม่าม มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของโต๊ะอิหม่ามในการสนับสนุน การพัฒนาโครงการการศึกษานอกระบบโรงเรียนในด้านความรู้พื้นฐานทั่วไป ด้านทักษะอาชีพ และด้านข่าวสารข้อมูล ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง สำหรับผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารการศึกษานอกโรงเรียน ผู้นำท้องถิ่น และโต๊ะอิหม่าม เกี่ยวกับบทบาทของโต๊ะอิหม่าม ในการสนับสนุนการพัฒนาโครงการการศึกษานอกระบบโรงเรียน ในด้านความรู้พื้นฐานทั่วไป และด้านทักษะอาชีพ ไม่มีข้อใดที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ด้านข่าวสารข้อมูล มีข้อที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เพียง 3 ประเด็น คือ “เป็นผู้นำเพื่อชักจูง หรือช่วยแนะนำประชาชนให้ช่วยกันรักษาสถานที่หรือสิ่งของที่เป็นของส่วนรวม, เป็นตัวแทนของข่าวไทยมุสลิมที่จะแถลงข้อเท็จจริงเพื่อความเข้าใจดีต่อกันระหว่างรัฐและประชาชน และเป็นผู้สนับสนุนให้ประชาชนได้เรียนรู้และร่วมกันปฏิบัติตามกฎหมายของบ้านเมือง” นอกนั้นไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.description.abstractalternativeThe perposes of this study were to study and to compare the opinions of non-formal education administrators, community learders and To-Imam concerning the roles of To-Imam in the southern border provinces in order to promote the development of non-formal education programs which consist of 3 cotegories 1.) Fundamental knowledge 2.) Occupational skills 3.) Information. The results of this research found that most of non-formal education administrators, community leaders and To-Imam believed that the promotion roles of To-Imam concerning the development of non-formal education programs in fundamental [know]ledge, occupational skills and information were in the middle scale of this research ranking system. The comparative results of the opinions of non-formal education administrators, community leaders and To-Imam concerning the promoting roles of To-Imam concerning the development of the non-formal education programs in fundamental knowledge, occupational skills were not different in statistical significance at level .05. However, there were different in statistical significance concerning the information program in 3 items : they were 1.) Being the leader in the sense of informing and encouroging people to keep the public properties in good order.2.) Being the muslim representative to inform any relevant information to people in order to help them have good understanding of the government. 3.) Being the supporter to make sure that the people would get to learn and conform to the law.
dc.format.extent3944249 bytes
dc.format.extent6772263 bytes
dc.format.extent24771855 bytes
dc.format.extent3972751 bytes
dc.format.extent14706880 bytes
dc.format.extent10116644 bytes
dc.format.extent17016067 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleบทบาทของโต๊ะอิหม่ามในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในการสนับสนุนการพัฒนาโครงการการศึกษานอกระบบโรงเรียน ตามการรับรู้ของผู้บริหารการศึกษานอกโรงเรียน ผู้นำท้องถิ่น และโต๊ะอิหม่ามen
dc.title.alternativeThe roles of to-imam in the southern border provinces in promoting the development of the non-formal education programs as percetved by non-formal education administrators, community leaders and to-imamen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการศึกษานอกระบบโรงเรียนes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Viroj_kw_front.pdf3.85 MBAdobe PDFView/Open
Viroj_kw_ch1.pdf6.61 MBAdobe PDFView/Open
Viroj_kw_ch2.pdf24.19 MBAdobe PDFView/Open
Viroj_kw_ch3.pdf3.88 MBAdobe PDFView/Open
Viroj_kw_ch4.pdf14.36 MBAdobe PDFView/Open
Viroj_kw_ch5.pdf9.88 MBAdobe PDFView/Open
Viroj_kw_back.pdf16.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.