Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23584
Title: Application of factor analysis for quantitative analysis of mixed xylene from fourier transform infrared spectra
Other Titles: การประยุกต์การวิเคราะห์ตัวประกอบเพื่อการวิเคราะห์เชิงปริมาณของไซลีนผสมจากฟูเรียร์ทรานสฟอร์มอินฟราเรดสเปกตรา
Authors: Pornphen Neamjoy
Advisors: Sanong Ekgasit
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Issue Date: 2001
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This research involves a quantitative analysis of mixed xylene that consists of three isomer: 0-, m-, and p-xylene by Fourier transform infrared (FT-IR) spectroscopy. FT-IR spectroscopy is easy to operate, fast and accurate. But the infrared spectra of xylene showed the deviation from Beer-Lambert Law, which caused the conventional quantitative infrared analysis technique inapplicable and caused the error. The mathematical algorithm called factor analysis was applied to solve this problem. In this research the ability of factor analysis was studied with the simulated spectra that generated under various experimental conditions. The factor analysis program was developed for the calculation. The program was tested with the mixture of three isomers of xylene, which know the composition in order to proof the ability of program in the actual application. Finally, the program was used with the unknown mixed xylene. The comparison between the proportions of o-, m-, and p-xylene obtained by this technique was compared with that from gas chromatography (GC) technique. The result indicates the feasibility of factor analysis for quantitative analysis of mixed xylene from FT-IR spectra.
Other Abstract: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการวิเคราะห์เชิงปริมาณของไซลีนผสมเพื่อหาปริมาณหรือองค์ประกอบของไอโซเมอร์ของไซลีนคือ ออโท เมทา และพาราไซลีนด้วยเทคนิคฟูเรียร์ทรานสฟอร์มอินฟราเรดสเปกโทรสโกปีซึ่งเป็นเทคนิคที่ทำได้ง่าย ได้ผลรวดเร็วและมีความแม่นยำ แต่สเปกตรัมของไซลีนผสมมีลักษณะที่เกิดการเบี่ยงเบนจากกฎของเบียร์และแลมเบิร์ต ซึ่งทำให้การวิเคราะห์เชิงปริมาณด้วยวิธีปกติทางสเปกโทรสโกปีทำได้ยากและอาจให้ผลการวิเคราะห์ที่คลาดเคลื่อนได้จึงได้ประยุกต์เทคนิคทางคณิตศาสตร์คือการวิเคราะห์ตัวประกอบมาใช้แก้ปัญหานี้ ในงานวิจัยประกอบด้วยการศึกษาความสามารถของวิธีวิเคราะห์ตัวประกอบในการใช้งานกับอินฟราเรดสเปกตรัมที่จำลองขึ้นในภาวะต่างๆ และได้พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการนำไปใช้งานจริงในการวิเคราะห์เชิงปริมาณของไซลีน โดยได้ทดสอบการทำงานของโปรแกรมกับอินฟราเรดสเปกตรัมของไซลีนที่เกิดจากการผสมของสามไอโซเมอร์ที่ทราบส่วนประกอบที่แน่นอน และท้ายที่สุดได้ทดสอบการใช้งานกับไซลีนผสมจริงที่ไม่ทราบส่วนประกอบและมีองค์ประกอบอื่นๆผสมอยู่ด้วย โดยได้เปรียบเทียบผลการวิเคราะห์ที่ได้จากโปรแกรมกับการวิเคราะห์ด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี ผลที่ได้แสดงให้เห็นว่าเทคนิคนี้สามารถใช้งานได้ และมีความเป็นไปได้ที่จะพัฒนาต่อไปเพื่อการนำไปใช้งานในห้องปฏิบัติการทางเคมี และในโรงงานอุตสาหกรรมที่ต้องมีการทำการวิเคราะห์เชิงปริมาณของไซลีนผสมได้
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2001
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Petrochemistry and Polymer Science
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23584
ISBN: 9740304788
Type: Thesis
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pornphen_ne_front.pdf3.42 MBAdobe PDFView/Open
Pornphen_ne_ch1.pdf1.8 MBAdobe PDFView/Open
Pornphen_ne_ch2.pdf3.74 MBAdobe PDFView/Open
Pornphen_ne_ch3.pdf1.82 MBAdobe PDFView/Open
Pornphen_ne_ch4.pdf6.43 MBAdobe PDFView/Open
Pornphen_ne_ch5.pdf619.16 kBAdobe PDFView/Open
Pornphen_ne_back.pdf3.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.