Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23768
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวิมล ว่องวาณิช
dc.contributor.advisorนงลักษณ์ วิรัชชัย
dc.contributor.authorสุภาณี ปิยะอภินันท์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
dc.date.accessioned2012-11-11T12:31:33Z
dc.date.available2012-11-11T12:31:33Z
dc.date.issued2544
dc.identifier.isbn9740316514
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23768
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) ศึกษาวิธีป้องกันความคลาดเคลื่อนแบบกด/ปล่อยคะแนนจากการเปรียบเทียบความสอดคล้องของผลการประเมินผลการปฏิบัติงานของครูและความคลาดเคลื่อนแบบกด/ปล่อยคะแนน ระหว่างวิธีการใช้มาตรแบบอสมมาตร และวิธีการใช้มาตรแบบสมมาตรร่วมกับการประมาณค่าและปรับแก้ความคลาดเคลื่อนแบบกด/ปล่อยคะแนน (2) ศึกษาวิธีป้องกันความคลาดเคลื่อนแบบฮาโลจากการเปรียบเทียบความสอดคล้องของผลการประเมินผลการปฏิบัติงานของครูและความคลาดเคลื่อนแบบฮาโล ระหว่างวิธีการใช้มาตรประเมินค่าเชิงพฤติกรรม (BARS) และวิธีการใช้มาตรประเมินค่าแบบกราฟฟิกร่วมกับการปรับแก้ความคลาดเคลื่อนแบบฮาโลและ (3) เปรียบเทียบความสอดคล้องของผลการประเมินผลการปฏิบัติงานของครู ความคลาดเคลื่อนแบบกด/ปล่อยคะแนน และความคลาดเคลื่อนแบบฮาโล ระหว่างวิธีการ 3 วิธี คือ วิธีการใช้มาตรประเมินค่าเชิงพฤติกรรม (BARS) แบบอสมมาตร วิธีการใช้มาตรกราฟฟิกแบบสมมาตรร่วมกับการปรับแก้ความคลาดเคลื่อนของ Guilford และวิธีการใช้ทฤษฎีการสรุปอ้างอิง กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยนี้ประกอบด้วย ผู้ประเมินจำนวน 16 คน และผู้ถูกประเมินที่เป็นครูโรงเรียนอัสสัมชัญ จำนวน 6 คน ทำการประเมินภายใต้เงื่อนไขบริบทที่ต่างกันดังต่อไปนี้ (1) มาตรแบบสมมาตร/อสมมาตร (2) มาตรประเมินค่าเชิงพฤติกรรม (BARS) / มาตรประเมินค่าแบบกราฟฟิก (graphic rating scale) (3) ผู้ประเมินสนิท/ไม่สนิทกับผู้ถูกประเมิน (4) จำนวนผู้ประเมิน 4/8 คน (5) ผู้ประเมินมีลักษณะการให้คะแนนแบบกด/ปล่อยคะแนนการวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติการวิเคราะห์เบื้องต้น การประมาณค่าและปรับแก้ความคลาดเคลื่อนตามหลักการของ Guilford และใช้ทฤษฎีการสรุปอ้างอิง ผลการวิจัยพบว่า ประการแรก การเปรียบเทียบผลการประเมินผลการปฏิบัติงานของครูและความคลาดเคลื่อนแบบกด/ปล่อยคะแนน ระหว่างวิธีการใช้มาตรแบบอสมมาตร และวิธีการใช้มาตรแบบสมมาตรร่วมกับการประมาณค่าและปรับแก้ความคลาดเคลื่อนแบบกด/ปล่อยคะแนน ได้ผลไม่สอดคล้องกันทั้ง 24 เงื่อนไข ประการที่สอง การเปรียบเทียบผลการประเมินผลการปฏิบัติงานของครู และ ความคลาดเคลื่อนแบบฮาโล ระหว่างการใช้มาตรประเมินค่าเชิงพฤติกรรม (BARS) และวิธีใช้มาตรประเมินค่าแบบกราฟฟิก ร่วมกับการประมาณค่าและปรับแก้ความคลาดเคลื่อนแบบฮาโล ให้ผลสอดคล้องกัน 6 จาก 24 เงื่อนไข ประการที่สาม การเปรียบเทียบระหว่างวิธีการใช้มาตรประเมินค่าเชิงพฤติกรรม (BARS) แบบอสมมาตร วิธีการประมาณค่าและปรับแก้ความคลาดเคลื่อนตามหลักการของ Guilford และวิธีการใช้ทฤษฎีการสรุปอ้างอิง ให้ผลว่า ผลการประเมินผลการปฏิบัติงานของครูสอดคล้องกัน 10 จาก 12 เงื่อนไข.แต่ค่าประมาณความคลาดเคลื่อนแบบกด/ปล่อยคะแนน และค่าประมาณความคลาดเคลื่อนแบบฮาโล ให้ผลสอดคล้องกันเพียง 1 จาก 12 เงื่อนไข โดยสรุปวิธีการป้องกันความคลาดเคลื่อนใช้ได้ผลน้อยกว่า วิธีการประมาณค่าและปรับแก้ความคลาดเคลื่อน
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) study the prevention of leniency error by means of the comparison of consistency of teacher performance appraisal and leniency error between 2 methods: the asymmetry rating scale and the symmetry rating scale with estimation and adjustment of leniency error, (2) to study the prevention of halo error by means of the comparison of consistency of teacher performance appraisal and halo error between 2 methods: the behavior anchor rating scale (BARS) and the estimate and adjustment of halo error and (3) to compare the consistency of teacher performance appraisal, the leniency error and the halo error among 3 methods: employing the asymmetry, and the behavior anchor rating scale (BARS) method, the Guilford’s method and the Generalizability Theory method. The samples consisted of 16 raters and 6 rates who were mathematics teachers at Assumption College. The appraisal of teacher performance was administered under different conditions as follows: (1) symmetry/asymmetry rating scale (2) BARS/graphic rating scale (3) known/unknown rates to raters (4) 4/8 raters (5) easy/hard rater. The data were analysed using preliminary statistical analysis, estimation and adjustment for error employing Guilford’s analysis of variance and Generalizability Theory. The research findings indicated that: firstly, the comparison of teacher performance appraisal and the leniency error between the asymmetry rating scale method and the symmetry rating scale with estimation and adjustment method in all 24 conditions, revealed that the results were not consistent. Secondly, the comparison of teacher performance appraisal and the halo error between the behavior anchor rating scale (BARS) method, and the method of estimation and adjustment of halo error revealed that the results were consistent in 6 out of 24 conditions. Thirdly, the comparison of the teacher performance appraisal among asymmetry rating scale and behavior anchor rating scale (BARS) method, the Guilford’s method and the Generalizability Theory method revealed that the results were consistent in 10 out of 12 conditions, but the estimators of the leniency error and the halo error were consistent only in 1 out of 12 conditions, In brief the estimation and adjustment of error works better than the prevention of error.
dc.format.extent5925444 bytes
dc.format.extent7855180 bytes
dc.format.extent30597297 bytes
dc.format.extent11999199 bytes
dc.format.extent30052639 bytes
dc.format.extent5706136 bytes
dc.format.extent50240881 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการเปรียบเทียบการแก้ปัญหาความคลาดเคลื่อนแบบกด/ปล่อยคะแนนและแบบฮาโลในการประเมินผลการปฏิบัติงานของครูระหว่างวิธีป้องกันกับวิธีการปรับแก้en
dc.title.alternativeComparison of the solutions to the problems of leniency and Halo errors in teacher performance appraisal between the prevention and the adjustment methodsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineการวัดและประเมินผลการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supanee_pi_front.pdf5.79 MBAdobe PDFView/Open
Supanee_pi_ch1.pdf7.67 MBAdobe PDFView/Open
Supanee_pi_ch2.pdf29.88 MBAdobe PDFView/Open
Supanee_pi_ch3.pdf11.72 MBAdobe PDFView/Open
Supanee_pi_ch4.pdf29.35 MBAdobe PDFView/Open
Supanee_pi_ch5.pdf5.57 MBAdobe PDFView/Open
Supanee_pi_back.pdf49.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.