Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23837
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโภคิน พลกุล
dc.contributor.advisorสุรเกียรติ เสถียรไทย
dc.contributor.authorสมหญิง เจียมศักดิ์ศรี
dc.date.accessioned2012-11-12T07:01:54Z
dc.date.available2012-11-12T07:01:54Z
dc.date.issued2533
dc.identifier.isbn9745772291
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23837
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en
dc.description.abstractรัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งโดยพระราชบัญญัติ ซึ่งบริหารงานโดยระบบคณะกรรมการ เป็นองค์กรกระจายอำนาจทางบริการของรัฐ เพื่อให้มีความอิสระในการดำเนินงานเชิงธุรกิจ แต่อยู่ภายใต้การควบคุมกำกับของรัฐในฐานะที่เป็นหน่วยงานของรัฐ ผลการวิจัยพบว่า วิธีการในการควบคุมกำกับองค์กรและการกระทำของรัฐวิสาหกิจ ซึ่งรัฐอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ปรากฏว่ากฎหมายซึ่งเป็นมาตรการในการควบคุมกำกับยังไม่เหมาะสม ทำให้ผู้บริหารหรือคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจบริหารงานอย่างไม่มีประสิทธิภาพและไม่คล่องตัวเท่าที่ควร กล่าวคือ พระราชบัญญัติจัดตั้งรัฐวิสาหกิจบัญญัติเกี่ยวกับอำนาจควบคุมกำกับไม่ชัดเจน ประกอบกับการนำระเบียบของทางราชการมาใช้กับรัฐวิสาหกิจ ก่อให้เกิดความสับสนระหว่างอำนาจบังคับบัญชากับอำนาจควบคุมกำกับ ทำให้องค์กรควบคุมกำกับปฏิบัติต่อรัฐวิสาหกิจเช่นเดียวกับการควบคุมบังคับบัญชาภายในส่วนราชการของตน ก่อให้เกิดปัญหาต่อประสิทธิภาพในการดำเนินงานเชิงธุรกิจของรัฐวิสาหกิจ และไม่เป็นไปตามเจตนารมณ์แห่งกฎหมาย นอกจากนี้มติคณะรัฐมนตรีที่ใช้บังคับกับรัฐวิสาหกิจซึ่งมีอยู่มากมาย และก่อให้เกิดความสับสน มีทั้งมติคณะรัฐมนตรีที่ขัดกับพระราชบัญญัติจัดตั้งและพระราชบัญญัติอื่น ๆ ขาดความชัดเจนและไม่ชอบด้วยกฎหมาย ทั้งหมดนี้ล้วนแล้วแต่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานของรัฐวิสาหกิจทั้งสิ้น ดังนั้น สมควรที่รัฐต้องกำหนดมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมกำกับรัฐวิสาหกิจให้เหมาะสมกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน โดยปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติจัดตั้ง กำหนดความหมายของการควบคุมกำกับให้ชัดเจนและไม่นำระเบียบของทางราชการ ซึ่งไม่เหมาะกับการดำเนินงานเชิงธุรกิจที่ต้องการความคล่องตัวมาใช้กับรัฐวิสาหกิจ ตลอดจนมติคณะรัฐมนตรีต่าง ๆ ที่จะให้รัฐวิสาหกิจถือปฏิบัติ ควรคำนึงถึงการบริหารงานของรัฐวิสาหกิจที่มีเป้าหมายสำคัญ 2 ประการคือ ดำเนินธุรกิจเพื่อแสวงหากำไรให้สามารถเลี้ยงตนเองได้ และตอบสนองประโยชน์สาธารณะ
dc.description.abstractalternativePublic Enterprises established by the act of parliament and managed by the board system are decentralized by service organizations. This, for the purpose of having autonomy in its management under the supervision of the State. It is apparent that methods in supervising the organ and the act of Public Enterprises of the State through the establishment act are not enough appropriate and therefore have caused the board to run inefficiently the business of Public Enterprises. Futhermore the use of government rules and regulations as a guidance in some aspects have as well caused confusion between the hierarchical power and that of supervision i.e. the supervisory organ has treated Public Enterprises as its interval bodies and not as decentralized organizations. Besides, there exist a large number of applicable tabinet resolutions which have created confusion. Some of these resolutions are inconsistent with the law, unclear and illegal. All the things mentioned have been obstacles to the performance of Public Enterprises. Therefore, the State should set up various legal measures which are more appropriate in supervising Public Enterprises. This can be done through improvement of the establishment act by specifying more cleary the mening of the supervision and by not applying government rules and regulations in the conduct of business of Public Enterprises. Finally, any rules and/or regulation concerning the business of Public Enterprises should response to the two essential objectives i.e. self reliance and public interest responding.
dc.format.extent19942072 bytes
dc.format.extent55666459 bytes
dc.format.extent1220094 bytes
dc.format.extent34832187 bytes
dc.format.extent39448159 bytes
dc.format.extent54516936 bytes
dc.format.extent6731136 bytes
dc.format.extent31760793 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมรัฐวิสาหกิจ : ศึกษาเฉพาะกรณี รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งโดยพระราชบัญญัติen
dc.title.alternativeLegal measures of the control of public enterprise established by act of parliamenten
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somying_ch_front.pdf19.47 MBAdobe PDFView/Open
Somying_ch_ch1.pdf54.36 MBAdobe PDFView/Open
Somying_ch_ch2.pdf1.19 MBAdobe PDFView/Open
Somying_ch_ch3.pdf34.02 MBAdobe PDFView/Open
Somying_ch_ch4.pdf38.52 MBAdobe PDFView/Open
Somying_ch_ch5.pdf53.24 MBAdobe PDFView/Open
Somying_ch_ch6.pdf6.57 MBAdobe PDFView/Open
Somying_ch_back.pdf31.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.