Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23889
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวลัย พานิช-
dc.contributor.authorสุพัตรา ศักรภพน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-13T05:39:40Z-
dc.date.available2012-11-13T05:39:40Z-
dc.date.issued2532-
dc.identifier.isbn9745768979-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23889-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาพัฒนาการการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทย เริ่มตั้งแต่สมัยสุโขทัย พ.ศ. 1781 จนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ พ.ศ. 2531 ในด้านหลักสูตร ความมุ่งหมายการเรียนการสอน เนื้อหาวิชา การเรียนการสอน สื่อการเรียนการสอน และการวัดผลและประเมินผล ปรากฏผลดังนี้ การเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาในระยะก่อนมีการประกาศใช้หลักสูตรฉบับแรกในพ.ศ. 2438 นั้น เป็นการอบรมสั่งสอนศีลธรรมจรรยามารยาทให้ประพฤติปฏิบัติตนเป็นคนดีตามขนบธรรมเนียมประเพณีไทยบนพื้นฐานศาสนาพุทธ แต่เมื่อประกาศใช้หลักสูตรระดับมัธยมศึกษาในพ.ศ. 2438 ได้มีการสอนธรรมจริยา เป็นหัวข้อในวิชาภาษาไทย ต่อมาในหลักสูตรพ.ศ. 2448 ได้ปรากฏชื่อวิชาจรรยาเป็นครั้งแรก และในหลักสูตรพ.ศ. 2480 ได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็นวิชาหน้าที่พลเมืองและศีลธรรม ในหลักสูตรพ.ศ. 2493 ได้แยกวิชาศีลธรรมออกจากวิชาหน้าที่พลเมือง หลักสูตรพ.ศ. 2498 ได้รวมวิชาศีลธรรมเข้าอยู่ในหมวดสังคมศึกษา หลักสูตรพ.ศ. 2521 วิชาศีลธรรมได้เรียกชื่อใหม่เป็นวิชาพระพุทธศาสนา ความมุ่งหมายของการเรียนการสอนนั้นมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีศีลธรรมจริยธรรม สามารถนำพุทธธรรมไปประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้ เนื้อหาวิชาได้เน้นเรื่องหลักธรรมะ ศีลธรรม จรรยามารยาท ศาสนพิธี พระรัตนตรัยได้แก่ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ และการประยุกต์ธรรมะใช้ในชีวิตประจำวัน การเรียนการสอนซึ่งแต่เดิมเน้นให้จำเนื้อหาเป็นสำคัญได้เพิ่มการส่งเสริมให้นักเรียนฝึกปฏิบัติตามหลักธรรมะด้วย ส่วนสื่อการเรียนการสอนได้พัฒนาจากการใช้หนังสือเรียนเพียงเล่มเดียวมาเป็นการใช้หนังสือหลายประเภท มีการใช้โสตทัศนูปกรณ์หลายรูปแบบ ด้านการวัดผลและประเมินผลได้เปลี่ยนจากระบบเปอร์เซนต์หรือร้อยละมาเป็นระบบเกรด และวัดให้ครอบคลุมพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัยของนักเรียน-
dc.description.abstractalternativeThis research was a study of development of Buddhism instruction at the secondary education level in Thailand from the Sukhothai period B.E.1781 to the Rattanakosin period B.E.2531 in the aspects of curriculum, instructional objectives, content, instructional activities, instructional materials, and measurement and evaluation. Buddhism instruction in the period before the use of the first curriculum B.E.2438 was aimed at teaching moral and etiquettes to students to be good persons according to Thai custom which based on Buddhism. When the first secondary school curriculum B.E.2438 was used, moral was taught as essay topic in Thai subject. The name of moral subject firstly appeared in the curriculum B.E.2448 and then was changed to civics and moral subject in the curriculum B.E.2480. Later, civics and moral subject was separated in the curriculum B.E.2493. Then, moral subject was included in social studies course in the curriculum B.E.2498. Finally, moral subject was changed to Buddhism subject in the curriculum B.E.2521. The objectives of Buddhism instruction were to cultivate good citizen with moral and ethics and being able to apply the Buddhist principles to their daily lives. The contents of the subject primarily emphasized on the Buddhist principles, moral, ethics, religion practices, Bhraratanatri (Triple Gem : Lord Buddha, Dhamma and Sangha) and application of Buddhist principles to daily lives. The teaching method had been changed from emphasis on memorization to encouraging students to practice the Buddhist principles too. Instructional materials had also been developed from using only one textbook to several kinds of books including a variety of audio-visual materials. The measurement and evaluation had also been changed from percentile ranking to grading system to cover students‘ performances in cognitive, affective and psychomotor domains.-
dc.format.extent2837408 bytes-
dc.format.extent2058168 bytes-
dc.format.extent12457439 bytes-
dc.format.extent4637142 bytes-
dc.format.extent30834108 bytes-
dc.format.extent4093322 bytes-
dc.format.extent18540057 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleพัฒนาการการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทยen
dc.title.alternativeDevelopment of Buddhism instruction at the secondary education level in Thailanden
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineมัธยมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supatra_sa_front.pdf2.77 MBAdobe PDFView/Open
Supatra_sa_ch1.pdf2.01 MBAdobe PDFView/Open
Supatra_sa_ch2.pdf12.17 MBAdobe PDFView/Open
Supatra_sa_ch3.pdf4.53 MBAdobe PDFView/Open
Supatra_sa_ch4.pdf30.11 MBAdobe PDFView/Open
Supatra_sa_ch5.pdf4 MBAdobe PDFView/Open
Supatra_sa_back.pdf18.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.