Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23899
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorNapa Siwarungson-
dc.contributor.authorKayanee Samiphak-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Science-
dc.date.accessioned2012-11-13T06:29:35Z-
dc.date.available2012-11-13T06:29:35Z-
dc.date.issued2002-
dc.identifier.isbn9741729057-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23899-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2002en
dc.description.abstractAgrobacterium-mediated transformation was used to transfer green fluorescent protein (GFP) and hva1 gene into indica rice variety (Oryza sativa cv. KDML 105). Embryogenic calli derived from scutellum of mature embryo were co-cultivated with Agrobacterium tumefaciens strain EHA 105 carrying pCAMBIA5305hpt-vector (GFP as the reporter gene), pCAMBIA5305 (hpt as a selectabe marker gene and GFP as the reporter gene) and pCAMBIA5305hpt (bar as a selectable market gene, GFP as reporter gene and hva1). In first study, embryogenic calli were infected with A. tumefaciens carrying pCAMBIA5305hpt-vector. The embryogenic calli were co-cultivated for 3 days and transferred to induction medium without selective agent. After 1 day and 10 days of co-cultivation, the efficiency of transformation calli was 8 and 15% respectively. Four weeks of selection, the infected embryogenic calli failed to detect. Total of GFP positive calli were cut into small pieces and transferred to regenerated medium. The section calli did not show continuous growth. In second study, A. tumefaciens strain EHA 105 habouring pCAMBIA5305 was used for co-cultivation of embryogenic calli. Condition of infection was varied to 10 minutes infected/ 2 days co-cultivated and 15 minutes infected / 3 days co-cultivated. After 8 weeks on selected with hygromycin, the efficiency of transformation of calli upon hygromycin resistance and GFP expression was 10 and 16% to observe from 2 and 3 days co-cultivated calli, respectively. Transgenic rice plants were regenerated from visually selected GFP-positive calli. No difference were observed in the morphology between transformed and non-transformed plants. The frequency of transformation, based upon GFP fluorescence and PCR analysis, was ranged from 4 to 5.5%. Expression of GFP and its inheritance was stable in T1 progeny. In third study, the embryogenic calli were co-cultivated for 3 days. Concentrations of selection medium were varied to 6. 8 and 10 mg/l glufosinate. The efficiency of transformed calli upon resistance to glufosinate and GFP expression were 1.8, 2.7 and 2.2%, respectively. Of the 12 callus lines produced from three concentrations, one line from each 8 and 10 mg/l glufosinate selection gave rise to plants. One line from 8 mg/l glufosinate had normal morphology. Another line from 10 mg/l glufosinate gave rise to albino plants. The frequency transformation of plant upon GFP expression and hva1 (level mRNA), which selected on 8 mg/l glufosinate, was 0.54%-
dc.description.abstractalternativeยีนที่สร้างโปรตีนกรีนฟลูออเรสเซนส์ (GFP) และยีนที่ผลิตโปรตีนเหนี่ยวนำภายใต้สภาวะความเครียด ถูกส่งถ่ายเข้าสู่ข้าวขาวดอกมะลิ 105 โดยอาศัยเชื้ออะโกรแบคทีเรียม การส่งถ่ายยีนกระทำโดยการเลี้ยงเอมบริโอเจนิคแคลลัสที่ได้จากสคิวเทลลัมของเอมบริโอร่วมกับเชื้ออะโกรแบคทีเรียมสายพันธุ์ A. tumefaciens EHA 105 ซึ่งมี pCAMBIA5305hpt-vector (ภายในยีนที่สร้างกรีนฟลูออเรสเซนต์เป็นยีนติดตาม), เวคเตอร์ pCAMBIA5305 (ภายในยีนมีเครื่องหมาย hpt และยีนติดตามกรีนฟลูออเรสเซนส์) และเวคเตอร์ pCAMBIA 5305hva1 (ภายในมียีนเครื่องหมาย bar, ยีนติดตามกรีนฟลูออเรสเซนส์โปรตีน และยีนที่ผลิตโปรตีนเหนี่ยวนำภายใต้ภาวะความเครียด hva1) โดยในการทดลองที่ 1 เอมบริโอเจนิคแคลลัสได้รับการส่งถ่ายยีนโดยอาศัยเชื้ออะโกรแบคทีเรียมที่มี pCAMBIA5305hpt-vector เอมบริโอเจนิคแคลลัสถูกเลี้ยงร่วมกับเชื้อเป็นเวลา 3 วัน จากนั้นนำไปเลี้ยงต่อในอาหารที่ปราศจากสารคัดเลือก หลังจากเลี้ยงเป็นเวลา 1 และ 10 วัน พบว่าเปอร์เซ็นต์การทรานส์ฟอร์มของแคลลัสที่มีการแสดงออกของยีนที่สร้างกรีนฟลูออเรสเซนส์ เป็น 8 และ 15 % ตามลำดับ และพบว่าไม่สามารถตรวจพบแคลลัสที่สร้างกรีนฟลูออเรสเซนส์โปรตีนได้หากเลี้ยงเป็นเวลา 4 สัปดาห์ แคลลัสที่ผลิตโปรตีนกรีนฟลูออเรสเซนต์ทั้งหมดถูกนำมาทดลองต่อโดยการตัดเป็นชิ้นเล็กๆ และนำไปเพราะบนอาหารเร่งการเจริญเป็นยอดพบว่า แคลลัสที่ถูกตัดทั้งหมดไม่สามารถเจริญต่อไปได้ ในการทดลองที่ 2 เชื้ออะโกรแบคทีเรียมที่มี pCAMBIA5305 ถูกใช้ส่งถ่ายยีนเข้าสู่แคลลัส โดยทดลอง 2 ช่วงเวลาคือ การส่งถ่ายยีนนาน 10 และ 15 นาที ร่วมกับการเลี้ยงร่วมกับเชื้อนาน 2 วันและ 3 วัน ตามลำดับ หลังจากเลี้ยงเป็นเวลา 8 สัปดาห์ พบว่า เปอร์เซนต์การทรานส์ฟอร์มของแคลลัสที่สามารถเจริญเติบในไฮโกรไมซินได้และมีการแสดงออกของยีนที่สร้าง GFP เป็น 10 และ 16 % ตามลำดับ แคลลัสที่ได้รับการทรานส์ฟอร์มกรีนฟลูออเรสเซนส์จะถูกชักนำให้เกิดต้นใหม่ ภายหลังการเพาะเลี้ยงพบว่าไม่มีความแตกต่างระหว่างต้นควบคุมและต้นที่ได้รับการส่งถ่ายยีน ประสิทธิภาพของการทรานส์ฟอร์มอะโกรแบคทีเรียมเข้าสู่ต้นข้าวที่มีการแสดงออกของ GFP มีค่าอยู่ในช่วง 4-5.5% และเมื่อทดสอบในรุ่นถัดไปพบว่ายังคงมีการแสดงออกของกรีนฟลูออเรสเซนต์โปรตีน ในการทดลองที่ 3 เอมบริโอเจนิคแคลลัสได้รับการส่งถ่ายยีนโดยอาศัยเชื้ออะโกรแบคทีเรียมที่มี pCAMBIA5305hpt1 แคลลัสถูกเลี้ยงร่วมกับเชื้อเป็นเวลา 3 วัน โดยอาหารเลี้ยงเชื้อประกอบด้วย glufosinate ความเข้มข้น 6, 8 และ 10 มิลลิกรัมต่อลิตร เปอร์เซนต์การทรานส์ฟอร์มแคลลัสที่สามารถเจริญได้บนอาหารที่เติม glufosinate และมีการแสดงออกของรีพอร์เทอร์ยีนที่สร้าง GFP เป็น 1.8, 2.7 และ 2.2 เปอร์เซ็นต์ตามลำดับ ทั้ง 3 ความเข้มข้น พบว่าแคลลัสที่มีการแสดงออกยีนกรีนฟลูออเรสเซนส์ทั้งหมด 12 ก้อน มีเพียง 1 ก้อน จากการเลี้ยงบนอาหารที่เติม glufosinate 8 มิลลิกรัมต่อลิตร และ 10 มิลลิกรัมต่อลิตร ที่สามารถเจริญเป็นต้นได้ โดยต้นที่ได้แคลลัสที่เลี้ยงบน glufosinate 8 มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถเจริญได้เป็นปกติในขณะที่ต้นที่เลี้ยงบนอาหารที่เติม 10 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ต้นเผือก ประสิทธิภาพของการทรานส์ฟอร์มของอะโกรแบคทีเรียมเข้าสู่ต้นข้าวที่มีการแสดงออกของกรีนฟลูออเรสเซนส์โปรตีนและยีน hva1 ในระดับ mRNA เมื่อเลี้ยงในอาหารที่เติม glufosinate มิลลิกรัมต่อลิตรมีค่า 0.54%-
dc.format.extent3837187 bytes-
dc.format.extent5804839 bytes-
dc.format.extent5884639 bytes-
dc.format.extent8618537 bytes-
dc.format.extent2480295 bytes-
dc.format.extent487597 bytes-
dc.format.extent8043941 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.titleTransformation and expression of barley stress-induced embryogenic hva1 gene in Oryza sativa cv. KDML 105en
dc.title.alternativeการส่งถ่ายและการแสดงออกของยีนที่ผลิตโปรตีนเหนี่ยวนำภายใต้ภาวะความเครียด ,hva1 , จากต้นอ่อนของข้าวบาร์เลย์ในข้าวขาวดอกมะลิ Oryza sativa cv. KDML 105en
dc.typeThesises
dc.degree.nameMaster of Sciencees
dc.degree.levelMaster's Degreees
dc.degree.disciplineBiochemistryes
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kanyanee_sa_front.pdf3.75 MBAdobe PDFView/Open
Kanyanee_sa_ch1.pdf5.67 MBAdobe PDFView/Open
Kanyanee_sa_ch2.pdf5.75 MBAdobe PDFView/Open
Kanyanee_sa_ch3.pdf8.42 MBAdobe PDFView/Open
Kanyanee_sa_ch4.pdf2.42 MBAdobe PDFView/Open
Kanyanee_sa_ch5.pdf476.17 kBAdobe PDFView/Open
Kanyanee_sa_back.pdf7.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.