Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23920
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ประโมทย์ อุณห์ไวทยะ | |
dc.contributor.author | สมัย สีอุชิน | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2012-11-13T08:03:10Z | |
dc.date.available | 2012-11-13T08:03:10Z | |
dc.date.issued | 2533 | |
dc.identifier.isbn | 9745778265 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23920 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาโปรแกรมไมโครคอมพิวเตอร์ ใช้ในงานออกแบบอาคารหรือการส่องสว่างในแนวราบภายในอาคารด้วยแสงธรรมชาติ ตามวิธีของ CIE พร้อมทั้งพัฒนาและปรับปรุงข้อมูลของ CIE เพื่อใช้ในการคำนวณค่าความส่องสว่างในแนวดิ่งภายในอาคารที่มีหน้าต่างในแนวดิ่งบนผนังหนึ่งด้าน ผลจากการวิจัย ทำให้สามารถใช้โปรแกรมไมโครคอมพิวเตอร์ ช่วยในงานออกแบบอาคารหรือการส่องสว่างภายในอาคารด้วยแสงธรรมชาติ โดยสามารถคำนวณหาค่าความสว่างต่ำสุดที่จุดอ้างอิงในแนวราบสำหรับอาคารที่มีหน้าต่างในแนวดิ่งบนผนังหนึ่งด้านหรือสองด้าน พร้อมทั้งค่าความสว่างเฉลี่ยบนกำแพงด้านตรงข้ามหน้าต่างได้ และสามารถหาค่าความสว่างเฉลี่ยในแนวราบบนระนาบอ้างอิงภายในอาคารที่มีช่องเปิดรับแสงบนหลังคาธรรมดา, หลังคาลักษณะฟันเลื่อย, หลังคาเป็นมอนิเตอร์, หลังคาแบบผสมระหว่างหลังคาธรรมดากับหลังคาลักษณะฟันเลื่อย และหลังคาแบบผสมระหว่างหลังคาธรรมดากับหลังคามอนิเตอร์ นอกจากนี้ยังได้เพิ่มผลของกันสาด หรือบานเกล็ดสำหรับอาคารที่มีหน้าต่างในแนวดิ่งบนผนัง และสามารถหาขนาดหน้าต่างของอาคารที่มีหน้าต่างในแนวดิ่งบนผนังหนึ่งด้าน และหาจำนวนของช่องเปิดรับแสงของอาคารที่มีช่องเปิดรับแสงบนหลังคาธรรมดาได้จากค่าความสว่าง ที่กำหนดสำหรับการหาค่าความสว่างเฉลี่ยบนกำแพงด้านตรงข้ามหน้าต่างนั้นได้ตรวจสอบความถูกต้อง โดยการคำนวณค่าความสว่างเป็นจุด ๆ โดยวิธีที่ถือว่าหน้าต่างเป็นแหล่งกำเนิดแสงสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดใหญ่ (SURFACE RADIATOR) แล้วหาค่าเฉลี่ยซึ่งให้ผลใกล้เคียงกัน | |
dc.description.abstractalternative | This study was to develope microcomputer program for building design or horizontal interior daylighting design by CIE method. Additionally, the developing and modifying on CIE data for vertical interior daylighting calculation in building has vertical window in one wall. The result of this study, microcomputer program can be used for building design or interior daylighing design by finding minimum horizontal illuminance at reference point for vertical window building and, at the same time, average vertical illuminance on the wall opposite the vertical window wall, and average horizontal illuminance on reference plane for building has skylight roof, sawtooth roof, monitor roof, combination of skylight and sawtooth roof, and combination of skylight and monitor roof also, including the effect of overhang and louver for vertical window building, finding width of window for vertical window in one wall or amount of aperture for skylight roof at required illuminance. For finding the average vertical illuminance on the wall opposite the vertical window wall, it was checked by calculate illuminance at each point on the wall by Surface Radiator method and finding the average illuminance which the result is nearly the same. | |
dc.format.extent | 11489334 bytes | |
dc.format.extent | 3150290 bytes | |
dc.format.extent | 6844138 bytes | |
dc.format.extent | 13491500 bytes | |
dc.format.extent | 2741452 bytes | |
dc.format.extent | 26488706 bytes | |
dc.format.extent | 1933997 bytes | |
dc.format.extent | 73433105 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การออกแบบการส่องสว่างภายในอาคารด้วยแสงธรรมชาติตามวิธีของ CIE | en |
dc.title.alternative | Interior daylighting design by CIE method | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมไฟฟ้า | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Smai_si_front.pdf | 11.22 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Smai_si_ch1.pdf | 3.08 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Smai_si_ch2.pdf | 6.68 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Smai_si_ch3.pdf | 13.18 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Smai_si_ch4.pdf | 2.68 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Smai_si_ch5.pdf | 25.87 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Smai_si_ch6.pdf | 1.89 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Smai_si_back.pdf | 71.71 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.