Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23996
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุมาลี พิชญางกูร | |
dc.contributor.author | ยุวพิน เลิศวีระวัฒน์ | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2012-11-13T15:01:43Z | |
dc.date.available | 2012-11-13T15:01:43Z | |
dc.date.issued | 2529 | |
dc.identifier.isbn | 9745663921 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23996 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529 | en |
dc.description.abstract | จากการรวมตัวของเซลโปรโตพลาส โดยใช้ PEG-8000 ได้สร้างเซลผสมของ แซคคาโรมัยซีส ซีรีวิซีอี จาก 2 สายพันธุ์ คือ α STX 166-17 C และ α STX 174-4 D ซึ่งมีตำหนิที่กรดอะมิโนและไนโตรจีเนียส เบส และมีสายพันธุ์บ่งเพศเป็นแอลฟาเหมือนกันมีจีโนไทพ์ lys 9 ade 2 และ lys 9 met 2 ura 1 ตามลำดับ คัดเลือกเซลผสมที่เกิดขึ้นบนอาหารต่ำสมบูรณ์ที่เติมเฉพาะไลซีน ตามหลักคอมพลีเมนทารี มีจีโนไทพ์เป็น lys 9 คัดเซลผสมมาทดลอง 7 โคโลนี ให้ชื่อ α α (Fu-d_1) ถึง α α (Fu-d₇) ตามลำดับความถี่ของการเกิดเซลผสมร้อยละ 2.5 จากการศึกษาและตรวจสอบเอกลักษณ์ของเซลผสมที่ได้โคโลนีของเซลผสมบนอาหารวายพีดี มีสีเหลืองคล้าย α STX 174-4 D เนื่องจากมีตำหนิที่ไลซีนเหมือนกัน แต่แตกต่างจากโคโลนีของ α STX 166-17 C ซึ่งมีสีแดง เนื่องจากมีตำหนิที่อดีนีน เซลผสมมีขนาด และปริมาตรใหญ่กว่าสายพันธุ์ α STX 166-17 C และ α STX 174-4 D และปริมาณดีเอนเอมีค่าเกือบเท่ากับปริมาณดีเอนเอของ α STX 166-17 C รวมกับ α STX 174-4 D อัตราการเจริญเติบโตในอาหารเหลววายพีดีบนเครื่องเขย่าความเร็ว 250 รอบต่อนาที ที่ 30 .ซ พบแบบการเจริญเติบโตมีอัตราการเจริญในช่วงทวีคูณ 2 ครั้ง ซึ่งลักษณะนี้ไม่พบในสายพันธุ์ α STX 166-17 C และ α STX 174-4 D ความสามารถในการตอบสนองต่อสายพันธุ์บ่งเพศที่ตรงข้าม พบว่า α α (Fu-d₁) แสดงสายพันธุ์บ่งเพศเป็น α และผสมแบบใช้เพศตามธรรมชาติกับสายพันธุ์ a AH-22 (cir+) จีโนไทพ์ leu 8-3 leu 2-112 his 4 can 1 ได้ลูกผสมใหม่คาดว่าเป็นทริพพลอยด์เซล α α a (Fu-t) เจริญบนอาหารต่ำสมบูรณ์มีขนาดและปริมาตรใหญ่กว่า α α (Fu-d₁) และ a AH-22 (cir+) แต่ปริมาณดีเอนเอน้อยกว่าผลรวมของปริมาณดีเอนเอระหว่าง α α (Fu-d_1) กับ a AH-22 (cir+) พบลักษณะการเจริญในช่วงทวีคูณ 2 ครั้ง เช่นเดียวกับ α α (Fu-d₁) แต่ไม่พบลักษณะนี้ใน a AH-22 (cir+ที่เป็นแฮพพลอยด์ การศึกษาจำนวนนิวเคลียสด้วยกล้องจุลทัศน์อิเลคตรอนแบบลำแสงผ่านตัวอย่าง พบว่าส่วนใหญ่เซสผสมมี 1 นิวเคลียส ซึ่งสอดคล้องกับการทดสอบยีน KAR ที่ทำงานปกติใน α (STX 166-17 C) กับ α (STX 174-4 D) ความเสถียรทางพันธุกรรมของเซลผสมเก็บไว้ 4 .ซ นาน 12 เดือน พบพีโนไทพ์ของเซลผสมยังคงขาดไลซีน ยกเว้น α α (Fu-d₁) พบ lys met ด้วยความถี่ร้อยละ 0.50 และ α α (Fu-d₄) พบ lys met ura ด้วยความถี่ร้อยละ 4.40 พบเซลปกติที่ไม่ต้องการกรดอะมิโนทุกชนิดในเซลผสม α α (Fu-d₁) - α α (Fu-d₇) ด้วยความถี่ร้อยละ 1.49, 0.85, 0.88, 1.65, 1.31, 0.81, 0.63 ตามลำดับ จากการทดลองพบว่า แสงอุลตราไวโอเลตสามารถชักนำให้เกิดการเปลี่ยนสายพันธุ์บ่งเพศจาก α เป็น a ในเซลผสมที่สร้างขึ้นและเกิดกระบวนการสร้างแอสโคสปอร์ในแอสคัส ผลการกระจายของยีนในแอสโคสปอร์ที่แยกมาเป็นจำนวน 25 แอสคัสด้วยไมโครมานิพูเลเทอร์ สรุปว่า α α (Fu d₁) เป็นดิพพลอยด์เซลที่เกิดจากการรวมตัวของเซลโปรพลาสระหว่าง α STX 166-17 C รวมกับ α STX 174-4 D อย่างแท้จริง | |
dc.description.abstractalternative | Intraspecific protoplast fusion method by PEG-8000 was adopted for this experiment. Two strains of Saccharomyces cerevisiae α mating type with the amino acid and nitrogenous base markers were used. These strains were α STX 166-17 c and α STX 174-4 D having lys 9- ade 2 and lys 9 met 2 ura 1 genotype, respectively. By the complementary system, fusants were recovered on the minimal media supplemented with lysine and named fusants α α ( Fu-d₁ to α α (Fu- d₇). The fusion frequency was 2.5%. The colonies of these fusants on YPD medium were yellow like that of α α STX 174-4 D, the lys 9 deficiency strain, but differed from the red colonies of α STX 166-17 c which were ade 2 deficiency. The cell volume and the size of the fusants were larger than the parental cells. The DNA content of each fusant showed almost equal to the sum of DNA content of α STX 166-17 c and α STX 174-4 D. When YPD broth was used to determine the growth at the agitation speed of 250 rpm at 30'c, the diauxic growth curve was occured in the fusant growth pattern. This pattern was not appeared to the strain of α STX 166-17 c and α STX 174-4 D. The α α (Fu-d₁) diploid showed mating response to a AH-22 (cir+) haploid strain having genotype of leu 8-3 leu 2-112 his 4 can 1. The triploid cell, α α a (Fu-t) was occurred and the ascospores were formed in the asci. The α α a (Fu-t) could grow on minimal medium. The cell volume and the size of α α a (Fu-t) were also larger than those of α α (Fu-d₁) fusant and a AH-22 (cir+). But the DNA content was lower than the sum of the DNA content of α α (Fu- d₇) and a AH-22 (cir+). The ICC a (Fu-t) also showed diauxic growth curve when grown in YPD broth. On the transmission electron microscopic study, most cells showed only one dark area at the center of the cell which was supposed to be the nucleus. This observation was supported by the normal function of KAR gene in α STX 166-17 c and α STX 174-4 D. The genetic stability of the fusants were tested and all fusants remained auxotroph after storage at 4’c for 12 months. The haploidization were found in α α (Fu-d₁) and α α (Fu- d₄) to be lys met and lys met ura auxotrophs at the frequency of 0.50% and 4.40%, respectively. Some progenies of the fusants α α Fu-d₁) - α α (Fu-d₇) reversed to prototrophs which could grow on minimal medium at the frequencies of 1.49, 0.85,88, 1.65, 1.31, 0.81, and 0.63%, respectively. The ultraviolet irradiation induced mating type mutation from α to a in α α (Fu-d₁) which then produced ascospores in ascus. The ascospores were isolated from 25 asci by micromanipulator. Segregation analysis data of mating type genes in ascus suggested that α α (Fu-d₁) was definitely diploid cell and constructed from α STX 166-17 c and cc α STX 174-4 D by protoplast fusion. | |
dc.format.extent | 581057 bytes | |
dc.format.extent | 573406 bytes | |
dc.format.extent | 651923 bytes | |
dc.format.extent | 831945 bytes | |
dc.format.extent | 658556 bytes | |
dc.format.extent | 513607 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | รังสีเหนือม่วง | |
dc.subject | ยีสต์ | |
dc.subject | พันธุกรรม | |
dc.title | การชักนำด้วยแสงอุลตราไวโอเลต ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสายพันธุ์บ่งเพศ ของแอลฟา/แอลฟา ฟิวแสนท์ ของ แซคคาโรมัยซีส ซีรีวิซิอี | en |
dc.title.alternative | Ultraviolet induced mating-type mutation in alfa/alfa fusant of saccharomyces cerevisiae | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | จุลชีววิทยา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Yuwapin_Le_front.pdf | 567.44 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Yuwapin_Le_ch1.pdf | 559.97 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Yuwapin_Le_ch2.pdf | 636.64 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Yuwapin_Le_ch3.pdf | 812.45 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Yuwapin_Le_ch4.pdf | 643.12 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Yuwapin_Le_back.pdf | 501.57 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.