Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23999
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิสุทธิ์ บุษยกุล
dc.contributor.advisorธวัช ปุณโณทก
dc.contributor.authorยุวรี อภิรักษ์ภูสิทธิ์
dc.date.accessioned2012-11-13T15:15:52Z
dc.date.available2012-11-13T15:15:52Z
dc.date.issued2527
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23999
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527en
dc.description.abstractศึกษาวรรณกรรม เรื่องขุนบรมในด้าน เนื้อหาและรูปแบบ เริ่มด้วย การกล่าวถึงต้นฉบับและเอกสาร เรื่องขุนบรม ต้นฉบับตัว เขียนบนใบลานมีทั้งที่ เขียนด้วยตัวอักษรไทยน้อยและอักษรตัวธรรม นอกจากนี้ยังมีเอกสารเรื่องขุนบรมที่ตีพิมพ์เผยแพร่ วรรณกรรมเรื่องขุนบรมฉบับวิจัยนี้มีลักษณะการ เขียนเชิงตำนาน โดยแต่งเป็นคำประพันธ์ร้อยกรองท้องถิ่นอีสาน เขียนลงใบลานด้วยตัวอักษรไทยน้อย สมัยที่แต่งนั้นควรอยู่ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 21 ถึง 23 พระภิกษุหรือฆราวาสที่ เคยบวชเรียนแล้วเป็นผู้แต่ง ในบทที่ 3 มีการกล่าวถึงแนวคิดเรื่องโลกและจักรวาล จักรวาลมีโลกของแถนโลกของมนุษย์และนรก แถนอยู่เมืองสวรรค์ เป็นผู้สร้างโลกและสรรพสิ่ง และเป็นผู้ส่งขุนบรม ลงมาในโลก เพื่อเป็นกษัตริย์ มีการอธิบายกำเนิดคน สัตว์ และพืชว่าออกจากน้ำเต้าปุ้ง เมื่อประชากรเพิ่มขึ้นมีการพัฒนาและจัดระบบสังคมอย่างมีระเบียบแบบแผนแน่นอน บทที่ 4 กล่าวถึงบทบาทหน้าที่ของบุคคลในสงคม ซึ่งมีกษัตริย์ ขุนนาง (มูลนาย) และไพร่บ้านไทยเมือง บทบาทหน้าที่ของบุคคลในครอบครัวซึ่งมี พ่อ แม่ ลูก สามีและภรรยา มีการเน้นบทบาทของภรรยา แนวปฏิบัติของบุคคลทุกระดับชั้น ต่างก็อิงหลักธรรมของศาสนาพุทธ บทที่ 5 เป็นเนื้อเรื่องย่อกับการวิ เคราะห์ในด้านประวัติศาสตร์ และลักษณะการดำเนินเรื่องซึ่งเป็นไปตามลำดับเวลา ในบทเดียวกันนี้ยังได้กล่าวถึง ลักษณะความงามทางภาษา รูปแบบ คำประพันธ์ และลักษณะภาษาที่ใช้ซึ่ง เป็นภาษาธรรมดาสามัญ ไม่มีศัพท์มาก บรรยายความได้แจ่มชัด บทที่ 6 เป็นบทสรุป การอพยพของขุนบรมและประชาชนนั้นเข้าใจว่านำมาจากข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ ซึ่งเล่าสืบต่อกันมา วรรณกรรม เรื่องขุนบรม พยายามอธิบายข้อเท็จจริงที่ปรากฏในสังคม เรื่องน้ำเต้าปุ้ง เป็นการพยายามอธิบาย เหตุผล สีผิวของคนซึ่งมีผิวแตกต่างกัน และอธิบายที่มาของมนุษยชาติและเผ่าพันธุ์ ซึ่งทำให้มีผลคือ ความสงบเรียบร้อยในหมู่ประชาชนในภูมิภาคแถบนี้
dc.description.abstractalternativeTo conduct a study of Khun Borom, a Thai literary work from the Northeast, both in its form and contents. The study begins with a description of extant palm-leaf manuscripts of the text and subsequent works on the subject by modern scholars. It was a poetical composition of the legend by an author, who was either a monk or an ex-monk, employing a kind of meter prevalent in that part of the country, and committed to writing in Thai-Noi alphabets between the 21st and the 23rd century of the Buddhist era. Chapter 3 begins with cosmology. The universe comprises the world of gods (Thaen), the world of men and hell. Gods who lived in heaven created all the universe and sent Khun Borom and his retinue down from heaven to live on earth as the king of the world. Men, animals and plants are described as coming out of a gigantic gourd (Namtau Pung). The organization of the social system follows with the increase of the population. Chapter 4 deals with the various roles of men, namely the king, the civil servants and the general populace. Functions of members of a family, namely parents, sons, daughters, husbands and wives, are also given, with emphasis on the role of the wives. The treatment of various classes of people follows the Buddhist teaching. Chapter 5 gives a short account of the contents and a short historical analysis with its chronological presentation. This chapter also describes the beauty of the writing style and its metrical form It is found that the language is simple, with limited vocabulary and its narrative aspect is good. Chapter 6 is the conclusion. It is found that the migration of oral tradition Khun Borom and his retinue had an historical basis which was transmitted down by oral tradition. It attempts to explain certain social facts. The birth of men from the gourd is not only an explanation of the difference of men’s skin colors, which results in a peaceful co-existence of people in this region.
dc.format.extent449350 bytes
dc.format.extent303424 bytes
dc.format.extent1284967 bytes
dc.format.extent2553348 bytes
dc.format.extent1688200 bytes
dc.format.extent793726 bytes
dc.format.extent308106 bytes
dc.format.extent1758805 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการศึกษาเชิงวิเคราะห์วรรณกรรมเรื่องขุนบรมen
dc.title.alternativeAn analytical study of Khun Boromen
dc.typeThesises
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Yuwaree_Ap_front.pdf438.82 kBAdobe PDFView/Open
Yuwaree_Ap_ch1.pdf296.31 kBAdobe PDFView/Open
Yuwaree_Ap_ch2.pdf1.25 MBAdobe PDFView/Open
Yuwaree_Ap_ch3.pdf2.49 MBAdobe PDFView/Open
Yuwaree_Ap_ch4.pdf1.65 MBAdobe PDFView/Open
Yuwaree_Ap_ch5.pdf775.12 kBAdobe PDFView/Open
Yuwaree_Ap_ch6.pdf300.88 kBAdobe PDFView/Open
Yuwaree_Ap_back.pdf1.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.