Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24118
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรัญ ธรรมโน | |
dc.contributor.author | วาริณี สังข์รัศมี | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2012-11-15T05:08:45Z | |
dc.date.available | 2012-11-15T05:08:45Z | |
dc.date.issued | 2517 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24118 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2517 | en |
dc.description.abstract | ปัจจุบันประเทศต่างๆได้ให้ความสนใจที่จะส่งเสริมอุตสาหกรรมประกอบรถยนต์ในประเทศของตน โดยเฉพาะประเทศกำลังพัฒนา เพราะอุตสาหกรรมประเภทนี้หากสามารถพัฒนาจนถึงระดับสูงและมีประสิทธิภาพแล้ว จะอำนวยประโยชน์อย่างมากด้านการเพิ่มแหล่งงานให้ประชากร ลดการขาดดุล การชำระเงินระหว่างประเทศ เพิ่มรายได้ ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างสาขาเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และมีการใช้วัตถุดิบภายในประเทศเพิ่มขึ้น สำหรับประเทศไทยอุตสาหกรรมประกอบรถยนต์ได้เริ่มตั้งขึ้นในพ.ศ. 2504 โดยได้รับการคุ้มครองด้านภาษี จากการศึกษาพบว่า อุตสาหกรรมนี้มีลักษณะเป็นอุตสาหกรรมทารก โดยมีอัตราการปกป้องค่อนข้างสูงและได้รับสิทธิพิเศษในฐานะเป็นอุตสาหกรรมประเภท ข.ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุนเพื่อกิจการอุตสาหกรรม โครงสร้างการลงทุนเป็นทุนร่วมระหว่างไทยกับต่างประเทศเป็นส่วนใหญ่ ต้นทุนการผลิตภายในประเทศค่อนข้างสูงให้มูลค่าเพิ่มเทียบกับสาขาอุตสาหกรรมอื่นๆต่ำ เทคนิคการประกอบรถยนต์เป็นการผลิตโดยถอดชิ้นส่วนออกจากกันอย่างสมบูรณ์ (Complete Knocked Down) และผลิตโดยนิยมใช้ชิ้นส่วนอุปกรณ์นำเข้าจากต่างประเทศ ปัญหาและอุปสรรคสำคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรมประกอบรถยนต์ไทยให้เป็นอุตสาหกรรมจำพวกนำที่มีประสิทธิภาพสูงสุด คือตลาดภายในประเทศมีขนาดเล็ก การผลิตอะไหล่รถยนต์บางประเภทไม่ได้มาตรฐาน ประกอบกับการที่รัฐบาลอนุญาตให้มีโรงงานประกอบรถยนต์ในประเทศมากเกินไป จึงมีผลให้แต่ละโรงงานไม่สามารถขยายการผลิตให้มีขนาดใหญ่โต อันจะได้รับประโยชน์จากการประหยัดจากขนาด อย่างไรก็ตามจากการทดสอบการส่งเสริมอุตสาหกรรมประเภทนี้ได้ลดปริมาณการนำเข้าได้ปีละหลายพันล้านบาท ดังนั้นการที่จะพัฒนาอุตสาหกรรมประกอบรถยนต์ในประเทศไทยให้พัฒนาในอนาคต ต้องขยายขอบเขตของตลาดให้กว้างขวาง และขณะเดียวกันก็ต้องการนโยบายและมาตรการที่เหมาะสมรัดกุมและถูกทางยิ่งขึ้น ก่อให้เกิดผลดีแก่การพัฒนาอุตสาหกรรมนี้ ในด้านช่วยรักษาดุลการค้าและดุลการชำระเงินของประเทศเพราะความต้องการรถยนต์เพิ่มมากขึ้นทุกปี | |
dc.description.abstractalternative | In recent years several countries, especially developing coun¬tries are interested in promoting (automotive assemble industry) in their own countries. These countries foresee the potentiality that, if this industry is well developed with high efficiency, it will yield them many benefits; increasing employment, decreasing deficit in the balance between agricultural sector and industrial sector and creating the using of em¬ploying raw materials in the country. In Thailand, the automotive assembly industry began in 1961. It is an infant industry with a high effective rate of protection from the governments According to the Investment Promotion Act, the industry is classified as "Group B". The capital invested came from both domestic and foreign sources. The cost of production is rather high. The type of production is Complete Knock Down. There are several important obstacles encountered in establishing the industry, firstly the local market is too snail, secondly the domestic spare parts are not standardized, and thirdly, too many assembly plants are allowed to operate. As a result, each plant can not be developed into an optimum size that will give the advantage of the economy of scale. However, the analysis shows that this industry can help reducing imports by many thousand million baht each year. The best possible ways, to develop the automotive assembly industry in Thailand in the future as pointed out by this study are enlarging domestic market and pursuing more suitable policies. There is no doubt of the industry role in helping to improve our deficits balance of pay¬ments since the demand for automobiles has shown to be increasing every year at a fast rate. | |
dc.format.extent | 615283 bytes | |
dc.format.extent | 445700 bytes | |
dc.format.extent | 1794033 bytes | |
dc.format.extent | 2188041 bytes | |
dc.format.extent | 815372 bytes | |
dc.format.extent | 788678 bytes | |
dc.format.extent | 761115 bytes | |
dc.format.extent | 445811 bytes | |
dc.format.extent | 1403763 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | ภาษีอากรกับอุตสาหกรรมประกอบรถยนต์ในประเทศไทย | en |
dc.title.alternative | Texation and automotive assembly industry in Thailand | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | เศรษฐศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
varinee_su_front.pdf | 600.86 kB | Adobe PDF | View/Open | |
varinee_su_ch1.pdf | 435.25 kB | Adobe PDF | View/Open | |
varinee_su_ch2.pdf | 1.75 MB | Adobe PDF | View/Open | |
varinee_su_ch3.pdf | 2.14 MB | Adobe PDF | View/Open | |
varinee_su_ch4.pdf | 796.26 kB | Adobe PDF | View/Open | |
varinee_su_ch5.pdf | 770.19 kB | Adobe PDF | View/Open | |
varinee_su_ch6.pdf | 743.28 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Varinee_Su_ch7.pdf | 435.36 kB | Adobe PDF | View/Open | |
varinee_su_back.pdf | 1.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.