Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24197
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสราวุธ อนันตชาติ-
dc.contributor.authorวริษา รัชตะนาวิน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-15T10:59:08Z-
dc.date.available2012-11-15T10:59:08Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24197-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงทดลอง แบบ 2x2 แฟคทอเรียล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลกระทบหลักและปลกระทบเชิงปฏิสัมพันธ์ของ 2 ปัจจัย อันได้แก่ (1) ปัจจัยด้านการส่งเสริมการขาย (การมอบของแถมและการชิงโชค) และ (2) ปัจจัยด้านคุณค่าตราสินค้า (คุณค่าตราสินค้าสูงและคุณค่าตราสินค้าต่ำ) ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมผู้บริโภค ซึ่งแบ่งออกเป็น 6 ประเด็นย่อย ได้แก่ ทัศนคติที่มีต่อการส่งเสริมการขาย, ทัศนคติที่มีต่อคุณค่าตราสินค้า, ความประหลาดใจ, ภาพลักษณ์ตราสินค้า, ความตั้งใจซื้อ และความพึงพอใจ โดยเก็บข้อมูลกับผู้เข้าร่วมการทดลองซึ่งเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี ของคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 120 คน ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2555 ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านการส่งเสริมการขายที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อพฤติกรรมผู้บริโภคต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติในทุกประเด็นย่อย ในขณะที่ปัจจัยด้านคุณค่าตราสินค้านั้น ส่งผลต่อพฤติกรรมผู้บริโภคต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยคุณค่าตราสินค้าที่สูง ส่งผลให้ ทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อการส่งเสริมการขาย, ทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อตราสินค้า, ความประหลาดใจ, ภาพลักษณ์ตราสินค้า, ความตั้งใจซื้อ และความพึงพอใจ มากกว่าคุณค่าตราสินค้าที่ต่ำ และเมื่อพิจารณาในส่วนของผลกระทบเชิงปฏิสัมพันธ์ของทั้ง 2 ปัจจัยดังกล่าว ก็พบว่าปัจจัยด้านการส่งเสริมการขาย และปัจจัยด้านคุณค่าตราสินค้า ส่งผลกระทบเชิงปฏิสัมพันธ์ร่วมกันต่อพฤติกรรมผู้บริโภคในทุกประเด็นย่อยอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติแต่อย่างใดen
dc.description.abstractalternativeWith the 2X2 factorial design, this experimental study was aimed to study the impacts of two factors. The manipulations were on: (1) types of sales promotion (premium and sweepstake) and (2) levels of brand equity (high equity and low equity). The dependent variable was consumer behavior which composed of attitude toward sales promotion, attitude toward brand, surprise, brand image, purchase intention and satisfaction. The data were collected with 120 Chulalongkorn University’s communication arts students, in March 2012. The findings showed that sales promotion factor had no significant main effects on consumer behavior. However, brand equity factor presented main effects on consumer behavior. That is, high equity brand yielded significantly higher levels of attitude toward sales promotion, attitude toward brand, surprise, brand image, purchase intention and satisfaction than low equity brand. And when together, the two factors showed no significant interaction effect on consumer behavior.en
dc.format.extent4269998 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1835-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการส่งเสริมการขายen
dc.subjectชื่อตราผลิตภัณฑ์en
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคen
dc.titleผลกระทบของการส่งเสริมการขายและคุณค่าตราสินค้าต่อพฤติกรรมผู้บริโภคen
dc.title.alternativeImpacts of sales promotion and brand equity on consumer behavioren
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSaravudh.A@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1835-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
virisa_ra.pdf4.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.