Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24291
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุพิน พิพิธกุล-
dc.contributor.advisorสมเชาว์ เนตรประเสริฐ-
dc.contributor.authorสุภักดิ์ วิศวธีรานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-16T06:01:59Z-
dc.date.available2012-11-16T06:01:59Z-
dc.date.issued2530-
dc.identifier.isbn9745676306-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24291-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนซ่อมเสริมวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ระหว่างกลุ่มที่ใช้บทเรียนแบบโปรแกรมเทปโทรทัศน์กับกลุ่มที่สอนโดยครู วิธีดำเนินการวิจัย ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสตรีมหาพฤฒาราม จำนวน 2 กลุ่ม กลุ่มที่หนึ่ง เป็นกลุ่มทดลองที่เรียนซ่อมเสริมโดยใช้บทเรียนแบบโปรแกรมเทปโทรทัศน์ กลุ่มที่สองเป็นกลุ่มควบคุมที่สอนโดยครู แต่ละกลุ่มมีจำนวนนักเรียน 45 คน พื้นฐานในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยซึ่งสร้างโดยผู้วิจัยมีดังนี้คือ บทเรียนแบบโปรแกรมเทปโทรทัศน์เรื่อง “เส้นตรง” กับเรื่อง “ฟังก์ชัน” ซึ่งมีประสิทธิภาพ 84.6/81.2 และ 82.1/81.8 ตามลำดับ และอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ที่ตั้งไว้ บันทึกการสอนเรื่อง “เส้นตรง” กับเรื่อง “ฟังก์ชัน” ซึ่งผู้วิจัยได้ให้อาจารย์ที่ปรึกษาและผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ตรวจแก้ไขข้อบกพร่องแบบฝึกหัดซึ่งนำมาใช้หลังการเรียนซ่อมเสริมคณิตศาสตร์แต่ละคาบ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์การเรียนซ่อมเสริมวิชาคณิตศาสตร์ (ค 012) เรื่อง “เส้นตรง” กับเรื่อง “ฟังก์ชัน” ซึ่งมีค่าความเที่ยง 0.874 และ 0.854 ตามลำดับ ผู้วิจัยนำบทเรียนแบบโปรแกรมเทปโทรทัศน์และบันทึกการสอนไปใช้กับกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม แต่ละกลุ่มเรียนซ่อมเสริมสัปดาห์ละ 1 คาบ รวมทั้งหมด 10 คาบ หลังจากที่กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมเรียนซ่อมเสริมจบในแต่ละคาบแล้ว ให้นักเรียนทั้งสองกลุ่มทำแบบฝึกหัด และหลังจากเรียนจบแต่ละบทแล้ว ให้นักเรียนทั้งสองกลุ่มทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์การเรียนซ่อมเสริมวิชาคณิตศาสตร์ แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่าที ผลการวิจัย ผลสัมฤทธิ์การเรียนซ่อมเสริมวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ของกลุ่มที่ใช้บทเรียนแบบโปรแกรมเทปโทรทัศน์สูงกว่ากลุ่มที่สอนโดยครูอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้-
dc.description.abstractalternativePurpose The purpose of this research was to compare remedial mathematics learning achievement of mathayom suksa four low achievers between the group learned by using video tape programmed lesson and the group taught by teacher. Procedures The sample were two groups of mathayom suksa four low achievers of Satree Mahaprutaram School. The group learned by using video tape programmed lesson was the experimental group and the group taught by teacher was the controlled group. Each group consisted of 45 students. The mathematics learning background of both groups was not different at the 0.05 level of significance. The research instruments constructed by the researcher were as follows : video tape programmed lesson on "Straight Line" and "Function" with the efficiencies of 84.6/81.2 and 82.1/81.8 respectively and in 80/80 of given efficient standard; the lesson plans on "Straight Line" and "Function" corrected by the advisor and three experts; the exercise used after remedial mathematics learning each period and the remedial mathematics learning achievement tests on "Straight Line" and "Function" with the reliabilities of 0.874 and 0.854 respectively. The video tape programmed lessons and the lesson plans were administered to the experimental group and the controlled group respectively. Each group studied ten periods, one period a week. The exercises were administered to the experimental group and the controlled group after remedial mathematics learning each period. After learning each topic, the remedial mathematics achievement test (M 012) were administered to both groups. The data were analyzed by means of arithmetic mean, Standard deviation and t-test. Result The remedial mathematics learning achievement of methayom suksa four low achievers of the group learned by using video tape programmed lesson was higher than the group taught by teacher at the 0.05 level of significance which retained the hypothesis.-
dc.format.extent3078370 bytes-
dc.format.extent2697551 bytes-
dc.format.extent18100589 bytes-
dc.format.extent3768347 bytes-
dc.format.extent1098149 bytes-
dc.format.extent2333181 bytes-
dc.format.extent57991765 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนซ่อมเสริมวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ระหว่างกลุ่มที่ใช้บทเรียนแบบโปรแกรมเทปโทรทัศน์ กับกลุ่มที่สอนโดยครูen
dc.title.alternativeA comparison of pemedial mathematics learning achievement of mathayom suksa low achievers between the group taught by teacheren
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineมัธยมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supak_vi_front.pdf3.01 MBAdobe PDFView/Open
Supak_vi_ch1.pdf2.63 MBAdobe PDFView/Open
Supak_vi_ch2.pdf17.68 MBAdobe PDFView/Open
Supak_vi_ch3.pdf3.68 MBAdobe PDFView/Open
Supak_vi_ch4.pdf1.07 MBAdobe PDFView/Open
Supak_vi_ch5.pdf2.28 MBAdobe PDFView/Open
Supak_vi_back.pdf56.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.