Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24307
Title: | Pervaporation of methanol solution using PTFE/PP membrane |
Other Titles: | เพอร์แวพอเรชันของสารละลายเมทานอลโดยใช้เมมเบรนพีทีเอฟอี/พีพี |
Authors: | Tanida Kumchoo |
Advisors: | Sophon Roengsumran |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Science |
Issue Date: | 2002 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Pervaporation was examined as a possible technique for methanol-water separation using PTFE/PP membrane. The laboratory experiments were carried out using a feed concentration range of 10 to 60 wt % methanol, downstream pressure of 12 to 34 cmHg, feed temperature of 30 to 50 ℃, and feed flow rate of 3.5 to 17 ml min⁻¹. The concentration of methanol in the solution was determine by gas chromatography. Results showed that total flux increased, while selection factor decreased with increasing the feed concentration. In the other hand, when the downstream pressure increased, total flux decreases, while selection factor increases. The total flux was only slightly changed, while selection factor decreased with increasing the feed temperature. The similar trend was found for the effect of feed flow rate. In this study, the maximum selection factor of 4.08 and total flux of 1.97 kg m⁻² h⁻¹ were obtained at the concentration of methanol in feed of 10 wt %, downstream pressure of 34 cmHg, feed temperature of 30 ℃, and feed flow rate of 3.5 ml min⁻¹. |
Other Abstract: | ได้นำระบบเพอร์แวพอเรชันมาใช้ในกระบวนการแยกสารละลายผสมระหว่างเมทานอลกับน้ำโดยใช้เมมเบรนพีทีเอฟอี/พีพี ในการทดลองใช้ความเข้มข้นของสารป้อนในช่วง 10-60 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักของเมทานอล ความดันด้านหลังเมมเบรนในช่วง 12-34 เซนติเมตรปรอท อุณหภูมิของสารป้อนในช่วง 30-50 องศาเซลเซียส และอัตราการไหลของสารป้อนในช่วง 3.5-17 มิลลิลิตรต่อนาที หาความเข้มข้นของเมทานอลในสารละลายโดยใช้เทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี จากผลการทดลองพบว่า เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของสารป้อน พบว่าค่าฟลักซ์รวมมีค่าเพิ่มขึ้นแต่ค่าการแยกมีค่าลดลง ในอีกแง่หนึ่งเมื่อเพิ่มความดันด้านหลังเมมเบรน พบว่าค่าฟลักซ์รวมมีค่าลดลงแต่ค่าการแยกมีค่าเพิ่มขึ้น เมื่อเพิ่มอุณหภูมิของสารป้อน และอัตราการไหลของสารป้อน ผลการทดลองที่ได้มีแนวโน้มคล้ายกัน นั่นคือค่าฟลักซ์รวมมีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย ขณะที่ค่าการแยกมีค่าลดลง ประสิทธิภาพการแยกของระบบเพอร์แวพอเรชันมีค่าสูงสุดที่ความเข้มข้นของสารป้อนมีค่าต่ำ ความดันด้านหลังเมมเบรนมีค่าสูง อุณหภูมิของสารป้อนมีค่าต่ำ และอัตราการไหลของสารป้อนมีค่าต่ำ ในการทดลองนี้ ได้ค่าการแยกสูงสุดเท่ากับ 4.08 และค่าฟลักซ์รวมเท่ากับ 1.97 กิโลกรัมต่อตารางเมตรต่อชั่วโมง ที่ความเข้มข้นของสารป้อนเท่ากับ 10 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักของเมทานอล ความดันด้านหลังเมมเบรนเท่ากับ 34 เซนติเมตรปรอท อุณหภูมิของสารป้อนเท่ากับ 30 องศาเซลเซียส และอัตราการไหลของสารป้อนเท่ากับ 3.5 มิลลิลิตรต่อนาที |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2002 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Petrochemistry and Polymer Science |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24307 |
ISBN: | 9741710933 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Tanida_ku_front.pdf | 4.79 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tanida_ku_ch1.pdf | 1.83 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tanida_ku_ch2.pdf | 11.28 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tanida_ku_ch3.pdf | 2.16 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tanida_ku_ch4.pdf | 5.89 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tanida_ku_ch5.pdf | 950.04 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Tanida_ku_back.pdf | 10.46 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.